กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอนงค์ ช่างปณีตัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3351-03-20 เลขที่ข้อตกลง 5/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มกราคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3351-03-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มกราคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 40,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดการศึกษาเป็นสิ่งจำเป็นมากในการพัฒนาประเทศเพราะการให้การศึกษาเป็นการพัฒนาคนซึ่งเป็นทรัพยากรสำคัญให้มีคุณภาพ จุดมุ่งหมายและหลักการของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 6 ระบุว่าการจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดำรงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขโดยเฉพาะการเริ่มพัฒนาไปตั้งแต่ยังเป็นเด็กปฐมวัย ซึ่งมีอายุตั้งแต่ 2 ปีจนถึง 6 ปี ถือว่าเป็นการวางรากฐานที่ดีให้ตั้งแต่เล็กๆ จำเป็นต้องมีการพัฒนาส่งเสริมพัฒนาการให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการเหมาะสมครบทั้ง 4 ด้านแต่ในปัจจุบันพัฒนาการของเด็กปฐมวัยเป็นที่น่าวิตกมากเมื่อพบว่าโดยภาพรวมแล้วเด็กปฐมวัยมีแนวโน้มพัฒนาการล่าช้าในทุกๆ ด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา เนื่องจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนไป โดยที่พ่อแม่ ผู้ปกครองขาดความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย ดังนั้นจึงหาของเล่นสำเร็จรูปที่มีขายตามท้องตลาด โดยไม่คำนึงว่าของเล่นนั้นๆ สามารถส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยหรือไม่ สำหรับเด็กปฐมวัย การเล่นมีความสำคัญต่อการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยเป็นอย่างมาก เพราะการเล่นถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่จะนำไปสู่กระบวนการเรียนรู้ของเด็กในอนาคต ดังนั้น พ่อ แม่ และผู้เลี้ยงดู ต้องเข้าใจและสามารถนำของเล่น หรือกิจกรรมการเล่นไปใช้กับเด็กได้อย่างเหมาะสมกับวัย เช่น กระดานลื่นช่วยส่งเสริมพัฒนาการในด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา ช่วยทำให้เด็กมีพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกายอารมณ์สังคมและสติปัญญา ได้เหมาะสมกับวัยและเพื่อทำให้ทักษะการพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยก้าวไปอย่างมีคุณภาพซึ่งเป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ในอนาคต ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเล็งเห็นความสำคัญพัฒนาการของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก โดยเฉพาะอย่างยิ่งพัฒนาการที่สำคัญอันดับแรกคือ พัฒนาการทางด้านร่างกาย จำเป็นจะต้องมีสื่อต่างๆ เช่น เครื่องเล่นสนาม สื่อการการเรียนรู้ในห้องเรียน นอกห้องเรียน เป็นต้น แนวโน้มที่เด็กมีพัฒนาการล่าช้าและพัฒนาการไม่สมตามวัยในอัตราที่เพิ่มมากขึ้นทุกปี และรวมถึงทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีสื่อและเครื่องเล่นต่างๆไม่เพียงพอ และไม่หลากหลายต่อการใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้แก่เด็กๆอีกด้วย ดังนั้นจึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้านนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการสมวัยครบทั้ง 4 ด้าน โดยผ่านการจัดประสบการณ์การเรียนการสอนโดยใช้สื่อและเครื่องเล่นที่หลากหลาย ได้มีเครื่องเล่นเพื่อใช้ในการเล่นออกกำลังกายฝึกการเคลื่อนไหว พัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กคือการพัฒนากล้ามเนื้อมือและตาให้ทำงานประสานสัมพันธ์กัน พัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่ที่แขน ขาให้แข็งแรงฝึกการทรงตัว ฝึกความกล้าหาญ และการตัดสินใจฝึกทักษะการทำงานของร่างกาย และฝึกพัฒนาการด้านอารมณ์ สังคมและสติปัญญา การรับรู้ความคิดฝัน และเลียนแบบจากของจริง ทำให้เด็กรู้จักปรับสิ่งใหม่ให้เข้ากับสิ่งที่คุ้นเคยหรือรู้จักแล้วคิดและเข้าใจธรรมชาติตามที่เป็นจริง ช่วยฝึกการรู้จักอยู่ร่วมกับเพื่อนๆในสังคมได้อย่างถูกต้องและมีความสุข และให้ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการให้แก่เด็กอย่างถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย (การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่)เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
  2. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
  3. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการ
  2. 2.กิจกรรมสาธิตการเล่นเครืองเล่นส่งเสริมพัฒนาการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 38
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เด็กมีการพัฒนาตนเองในการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่ได้อย่าง คล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย
  • เด็กมีภาวะทางอารมณ์-จิตใจดี และมีนิสัยร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
  • เด็กสามารถเล่นหรือร่วมกิจกรรมกับผู้อื่นได้และใช้ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
  • เด็กมีการพัฒนาตนเองด้านสติปัญญา สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว มีความคิดรวบยอด เกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ และมีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. จัดซื้อเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการ

วันที่ 10 มกราคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-สำรวจความต้องการเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะกับวัยของเด็ก และยังขาดแคลน -ดำเนินกาจัดหา/จัดซื้อเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการสำหรับเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-เด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงาย มีของเล่นส่งเสริมพัฒนาการเพียงพอต่อความต้องการ และมีความหลากหลาย

 

0 0

2. 2.กิจกรรมสาธิตการเล่นเครืองเล่นส่งเสริมพัฒนาการ

วันที่ 6 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ครูสาธิตการเล่นเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการ ในแต่ละรายการให้เด็กรูจักวิธีการเล่น และข้อควรระวังในการเล่น -เด็กเล่นเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการตามความสนใจของตนเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ศูนย์พัฒนาดเด็กเล็กมีของเล่นส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัยอย่างหลากหลาย -เด็กได้เรียนรู้ พัฒนาทักษะการเรียนรู้ผ่านการเล่น พัฒนาการเดหมาะสมตามวัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

-ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงาย มีของเล่นส่งเสริมพัฒนาการสำหรับเด็กปฐมวัยอย่างหลากหลาย -เด็กของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายได้รับการส่งเสริมพัฒนาการเหมาะกับวัย โดยการจัดกิจกรรมการเล่นเพื่อเรียนรู้ -เด็กมีพัฒนาการเหมาะสมตามวัย พร้อมสำหรับการเรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย (การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่)เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายร้อยละ 90 มีร่างกายแข็งแรง - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายร้อยละ 90 สามารถทรงตัวได้ดี - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายร้อยละ 90 สามารถใช้กล้ามเนื้อได้อย่างประสานสัมพันธ์กัน
38.00 38.00

 

2 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม
ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายร้อยละ 90 มีความสุขกับการเรียนรู้ (ชอบมาเรียนที่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ) - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายร้อยละ 80 รู้จักการแบ่งปัน - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงายร้อยละ 80 สามารถทำกิจกรรมร่วมกับผู้อื่นได้
38.00 38.00

 

3 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา
ตัวชี้วัด : - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงาย ร้อยละ 70 มีความพร้อมต่อการเรียนรู้ - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงาย ร้อยละ 70 สามาถบอกชื่อของคน สัตว์ สิ่งของ ที่อยู่ใกล้ตัวได้ - เด็กปฐมวัยของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลโคกชะงาย ร้อยละ 80 สามารถบอกความต้องการของตนเองได้
38.00 38.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 38
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 38
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย (การใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและกล้ามเนื้อมัดใหญ่)เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา (2) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านอารมณ์-จิตใจเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสังคม (3) เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านสติปัญญา

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อเครื่องเล่นส่งเสริมพัฒนาการ (2) 2.กิจกรรมสาธิตการเล่นเครืองเล่นส่งเสริมพัฒนาการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3351-03-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอนงค์ ช่างปณีตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด