กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการสมุนไพรไทย เสริมภูมิคุ้มกัน ห่างไกลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์

ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรไทย เสริมภูมิคุ้มกัน ห่างไกลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3321-1-11 เลขที่ข้อตกลง 15/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมุนไพรไทย เสริมภูมิคุ้มกัน ห่างไกลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรไทย เสริมภูมิคุ้มกัน ห่างไกลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมุนไพรไทย เสริมภูมิคุ้มกัน ห่างไกลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 65-L3321-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,440.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

1.หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) เชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 หรือ COVID-19 เป็นไวรัสข้ามสายพันธุ์ที่สันนิษฐานว่าเกิดจากค้างคาวมาติดเชื้อในคน โดยเริ่มระบาดในมณฑลอู่ฮั่นของประเทศจีนในช่วงปลายปี ค.ศ.2019 จนกระทั่งมีการระบาดไปยังประเทศอื่นๆ ทั่วโลก สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 มีความรุนแรงเพิ่มมากขึ้น
ปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อ COVID-19 มีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง องค์การอนามัยโลกได้ประกาศว่าการแพร่ระบาดของเชื้อดังกล่าวเป็นภัยพิบัติฉุกเฉินระดับโลก ขณะเดียวกันประเทศไทยได้ประกาศให้โรคติดเชื้อ COVID-19 เป็นโรคติดต่ออันตรายจากสถานการณ์การติดเชื้อ COVID-19 ในประเทศไทย ข้อมูลสะสมตั้งแต่ปี 2563 พบผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,432,534 ราย หายป่วยแล้ว 2,325,835 ราย เสียชีวิตสะสม 22,157 ราย ส่วนข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2565 พบ ผู้ป่วยรายใหม่ 8,444 รายผู้ป่วยยืนยันสะสม 209,099 ราย หายป่วยแล้ว 157,341 รายเสียชีวิตสะสม 459 รายส่วนสถานการณ์ของจังหวัดพัทลุงพบผู้ป่วยยืนยันสะสม15,059 ราย เสียชีวิตสะสม 120 ราย
เพื่อเป็นการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มาตรการ ที่สำคัญคือ การป้องกันตนเองมิให้สัมผัสกับโรคโดยการหลีกเลี่ยงการอยู่ในสถานที่แออัด หรือมลภาวะ และไม่อยู่ใกล้ชิดผู้ป่วยไอหรือจาม รวมถึงการสวมหน้ากากอนามัย และการล้างมือ ดังนั้น เพื่อให้ประชาชน ในพื้นที่ที่ทุกคนมีภูมิคุ้มกันที่ดี สามารถป้องกันโรค ไม่เฉพาะโรคติดต่อเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (COVID-19) เท่านั้น รวมถึงโรคระบาดหรือโรคติดต่ออุบัติใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต จึงได้จัดทำโครงการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี เฝ้าระวังป้องกันตนเองและให้กับ ประชาชนในเขตพื้นที่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคคลที่สนใจ จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบสมุนไพรสร้างภูมิคุ้มกัน
  2. 1.ชีี้แจงรายละเอียดโครงการให้แก่ อสม.และกลุ่มผู้สนใจ 2.อธิบายวิธีการอบสมุนไพร การปฎิบัติตัวหลังจากอบสมุนไพร และสรรพคุณของสมุนไพร 3. ให้บริการอบสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและกลุ่มผู้สนใจเป้าหมาย จำนวน 114

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

อสม.และกลุ่มผู้สนใจสามารถดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองจาก โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)ได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.ชีี้แจงรายละเอียดโครงการให้แก่ อสม.และกลุ่มผู้สนใจ 2.อธิบายวิธีการอบสมุนไพร การปฎิบัติตัวหลังจากอบสมุนไพร และสรรพคุณของสมุนไพร 3. ให้บริการอบสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและกลุ่มผู้สนใจเป้าหมาย จำนวน 114

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงวัตุประสงค์ รายละเอียดของโครงการ 2.ประชาสัมพันธ์โครงการ 3.วางแผน กำหนด วัน เวลา อบสมุนไพรให้แก่ อสม.และกลุ่มสนใจ
4.อธิบายวิธีการอบสมุนไพร การปฎิบัติตัวหลังจากอบสมุนไพร และสรรพคุณของสมุนไพร
5.ให้บริการอบสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อสม.และกลุ่มผู้สนใจได้รับการอบสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกัน จำนวน 95 คนคิดเป็น ร้อยละ 83.33

 

114 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคคลที่สนใจ จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)
ตัวชี้วัด : อสม.และกลุ่มผู้สนใจได้รับการอบสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันครบตามเป้าหมาย จำนวน 114 คน
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน และบุคคลที่สนใจ จากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบสมุนไพรสร้างภูมิคุ้มกัน (2) 1.ชีี้แจงรายละเอียดโครงการให้แก่ อสม.และกลุ่มผู้สนใจ 2.อธิบายวิธีการอบสมุนไพร การปฎิบัติตัวหลังจากอบสมุนไพร และสรรพคุณของสมุนไพร 3. ให้บริการอบสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันแก่เจ้าหน้าที่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและกลุ่มผู้สนใจเป้าหมาย จำนวน 114

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสมุนไพรไทย เสริมภูมิคุ้มกัน ห่างไกลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 65-L3321-1-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด