กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
รหัสโครงการ 65-L3321-1-02
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต.
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต
วันที่อนุมัติ 14 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 17 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 25,445.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายประดับวุฒิ ณ นิโรจน์
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 1 - 13 ตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 17 ก.พ. 2565 31 ส.ค. 2565 25,445.00
รวมงบประมาณ 25,445.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 324 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง :

กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2370 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
31.99

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

องค์การอนามัยโลก สำรวจพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวาน 171 ล้านคน และทำนายว่า อีก 30 ปี จะมีผู้ป่วยเบาหวาน 366 ล้านคน เวลาผ่านไปไม่ถึง 30 ปี กลับพบว่ามีผู้ป่วยเบาหวาน 171 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 2.8 ของประชากรทั่วโลก ปัจจุบัน ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตด้วยโรคเบาหวาน 4 ล้านคนต่อปี หรือเฉลี่ย 8 วินาทีต่อ 1 คน หรืออาจพูดได้ว่าทุกๆ 8 วินาทีจะมีผู้ป่วยเบาหวานตาย 1 คน สถานการณ์ประเทศไทยตอนนี้มีผู้ป่วยเบาหวานอยู่ราว 5 ล้านคน หรือเปรียบเทียบ ได้ว่า 1 ใน 11 คนไทยที่อายุ 15 ปีขึ้นไป กำลังป่วยด้วยโรคเบาหวาน และมีอัตราเพิ่มขึ้นประมาณหนึ่งแสนคนต่อปี ซึ่งในจำนวนนี้มีถึง 40% ที่ไม่รู้ว่าตัวเองป่วย ขณะที่ผู้ได้รับการวินิจฉัยและดูแลรักษามีเพียง 54.1% หรือเพียง 2.6 ล้านคน ในจำนวนนี้มีเพียง 1 ใน 3 คน ที่สามารถบรรลุเป้าหมายในการรักษา ทำให้อัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานในเมืองไทยมีมากถึง 200 รายต่อวัน ที่น่าเป็นห่วงมากสำหรับประเทศไทย คือ ความชุกของเบาหวานที่เกิดจากปัญหาโรคอ้วนและพฤติกรรมการใช้ชีวิตในเด็กวัยรุ่นและวัยหนุ่มสาวเพิ่มขึ้น และมีแนวโน้มที่สูงขึ้น ซึ่งกลุ่มนี้เป็นคนวัยทำงานและเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ จังหวัดพัทลุงมีอัตราตายของผู้ป่วยเบาหวานร้อยละ 3.95อำเภอควนขนุนมีอัตราตาย ร้อยละ 4.39 และ มีแนวโน้มผู้ป่วยโรคเบาหวานสูงขึ้นทุกๆปี จากสถิติตั้งแต่ 2560 – 2563ความชุกของผู้ป่วยเบาหวานมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นดังนี้ 30,19024,69923,331 22,52 ต่อแสนประชากร ตามลำดับ จากสถิติการเกิดโรคเบาหวานของประชากรกลุ่มอายุ 3๕ ปีขึ้นไป
รพ.สต.ปันแตตำบลปันแตอำเภอควนขนุนจังหวัดพัทลุงปี ๒๕64คัดกรองโรคเบาหวานกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปดำเนินการคัดกรอง จำนวน 2,255 คนพบ ปกติ จำนวน 1,722 คน คิดเป็นร้อยละ 76.30 พบว่า กลุ่มแฝง/เสี่ยง จำนวน453 คน คิดเป็น ร้อยละ 20.07และกลุ่มสงสัยเป็นโรค จำนวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 3.54 และพบผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ในปี 2562-2564จำนวน 471.09,325.04,356.97 อัตราต่อแสน ซึ่งจากการดำเนินงานคัดกรองโรคเบาหวานในแต่ละปีพบผู้ป่วยรายใหม่ทุกปีการที่มีผู้ป่วยเพิ่มขึ้นทำให้ประเทศชาติสูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษา ดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วยดังนั้นการส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนไม่เป็นโรคเป็นเรื่องที่มีความสำคัญเพราะจะทำให้ประชาชนสุขภาพชีวิตที่ดีและไม่สูญเสียงบประมาณในการดูแลการเจ็บป่วย แนวทางการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน และการป้องกันภาวะแทรกซ้อนเมื่อเกิดเป็นโรคแล้วจึงเป็นทางเลือกที่ดี การป้องกันและควบคุมโรคซึ่งสามารถกระทำได้ทั้งการส่งเสริมสุขภาพด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในระดับบุคคลครอบครัวและชุมชน

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อค้นหาและคัดกรองผู้ป่วยโรคเบาหวาน

ประชาชนได้รับการคัดกรองโรคเบาหวานร้อยละ90

90.00
2 2. เพื่อติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงได้รับการติดตามผล FPG ลดลง

กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานมารับการเจาะ FBSหลังปรับเปลี่ยนพฤติกรรม FBG ลดลงประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง

60.00
3 3เพื่อติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่องร้อยละ 100 ของผู้ป่วยได้รับการติดตาม

ผู้ป่วยได้รับยาและกินยาอย่างต่อเนื่องทุกรายไม่เกิดโรคแทรกซ้อนรายใหม่ ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง

100.00
4 4.เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานโดยการตรวจตาไตเท้า

ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้า ไต เท้า ร้อยละ 60ประมวลผลจากฐานข้อมูลHDC On Cloudสสจ.พัทลุง

80.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณก.พ. 65มี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65
1 การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุก(17 ก.พ. 2565-31 มี.ค. 2565) 25,145.00              
2 ติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง(17 ก.พ. 2565-31 ส.ค. 2565) 0.00              
3 ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง(1 เม.ย. 2565-30 มิ.ย. 2565) 0.00              
4 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานโดยการตรวจตาไตเท้า(1 เม.ย. 2565-30 มิ.ย. 2565) 300.00              
รวม 25,445.00
1 การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุก กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 2370 25,145.00 1 24,845.00
1 ธ.ค. 64 - 31 มี.ค. 65 การคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย 2,370 25,145.00 24,845.00
2 ติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 324 0.00 1 0.00
1 ต.ค. 64 - 30 ก.ย. 65 ติดตามการการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง 324 0.00 0.00
3 ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 2370 0.00 1 0.00
1 เม.ย. 65 - 30 มิ.ย. 65 ติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยง 2,370 0.00 0.00
4 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานโดยการตรวจตาไตเท้า กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 300 300.00 1 300.00
1 เม.ย. 65 - 30 มิ.ย. 65 กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานโดยการตรวจตาไตเท้า 300 300.00 300.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ลดอัตราการเกิดโรคเบาหวานรายใหม่
  2. ลดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
  3. ลดอัตราการตายด้วยโรคเบาหวาน
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 24 ม.ค. 2565 14:34 น.