กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ


“ โครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลกายูคละ ”

ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวนันทิยา ไหมทอง

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลกายูคละ

ที่อยู่ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2518-3-03 เลขที่ข้อตกลง 01/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลกายูคละ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลกายูคละ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลกายูคละ " ดำเนินการในพื้นที่ ที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2518-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 29,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กายูคละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยกองสวัสดิการสังคม องค์การบริการส่วนตำบลกายูคละ ได้ดำเนินการรับลงทะเบียนโครงการเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด ซึ่งเป็นการจัดสวัสดิการเงินอุดหนุนให้แก่เด็กแรกเกิดในครัวเรือนยากจนหรือครัวเรือนที่เสี่ยงต่อความยากจน ตามระเบียบกรมกิจการเด็กและเยาวชนว่าด้วยการจ่ายเงินอุดหนุนเพื่อการเลี้ยงดูเด็กแรกเกิด “ครัวเรือนที่มีรายได้น้อย” หมายความว่า ครัวเรือนที่สมาชิกมีรายได้เฉลี่ยไม่เกิน 100,000 บาท ต่อคน ต่อปี โดยสมาชิกต้องมีความสัมพันธ์ทางเครือญาติหรือการสมรส หรืออยู่กินด้วยกันฉันสามีภริยา หรือด้วยเหตุอื่นตามกฎหมาย และสมาชิกต้องอาศัยอยู่จริงในครัวเรือนติดต่อกันมาไม่น้อยกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันในรอบปีที่ผ่านมา แต่ไม่นับรวมลูกจ้างของครัวเรือนนอกเหนือจากการจัดสวัสดิการเงินอุดหนุนเด็กแรกเกิดในครัวเรือนที่ยากจน กองสวัสดิการสังคม พบว่า มีเด็กแรกเกิดในครัวเรือนยากจนของพื้นที่ตำบลกายูคละจำนวนมาก มารดาของเด็กขาดทุนทรัพย์ในการเสริมโภชนาการให้สมบูรณ์แข็งแรง ส่งผลให้การเจริญของเด็กแรกเกิดไม่เหมาะสมตามวัย จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสุขภาวะอนามัยของแม่และ เด็ก สุขภาพขั้นพื้นฐานที่มีความสำคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์หรือทุนมนุษย์ เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่ง ต่อการพัฒนาประเทศ ซึ่งการพัฒนาคนให้มีสติปัญญาดี มีทักษะสูง มีสุขภาพแข็งแรง และมีจิตใจที่แจ่มใส ต้องเริ่มตั้งแต่ในครรภ์มารดา และหลังคลอดไปจนถึงในช่วงปฐมวัย ซึ่งการเริ่มต้นด้วยโภชนาการที่เหมาะสม การเสริมสร้าง จะช่วยสร้างพื้นฐานการมีสุขภาพที่ดี ให้เด็กมีการเจริญเติบโตและพัฒนาการสมวัยทั้งด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญา กองสวัสดิการสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลกายูคละ จึงได้จัดทำโครงการเยี่ยมติดตามสุขภาพมารดาหลังคลอด และเด็กแรกเกิด ประจำปีงบประมาณ 2565 ขึ้น เพื่อให้เด็กแรกเกิด และมารดาหลังคลอด ในครัวเรือนยากจนหรือครัวเรือนที่เสี่ยงต่อความยากจน ได้รับโอกาสในการเข้าถึงการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง มีสุขภาพที่ดี ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อน ได้รับโภชนาการที่เหมาะสม เนื่องจากมารดาหลังคลอดในพื้นที่ตำบลกายูคละบางส่วน ยังขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องการดูแลสุขภาพ และพัฒนาการของเด็กแรกเกิด อีกทั้ง ยังขาดความเข้าใจในเรื่องความสำคัญของการฉีดวัคซีนเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในเด็ก การฉีดวัคซีนจะป้องกัน และช่วยลดความเสี่ยงที่จะเกิดโรคร้ายแรงกับตัวของเด็กเอง อีกหนึ่งประโยชน์คือ เมื่อเด็กได้รับวัคซีนโรคนั้นๆแล้ว โรคนั้นจะไม่ติดต่อไปยังเด็กคนอื่น ฉะนั้น การฉีดวัคซีนจึงเป็นการเสริมสร้างพิเศษ ทั้งเสริมภูมิคุ้มกันให้ตัวเอง และภูมิคุ้มกันที่จะส่งต่อโรคไปยังผู้อื่นด้วย กองสวัสดิการสังคม จึงมีแนวคิดในการขอความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่และหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ เยี่ยมติดตามสุขภาพเด็กแรกเกิด และมารดาหลังคลอด ครัวเรือนที่ยากจนหรือครัวเรือนที่เสี่ยงต่อความยากจน ให้ได้รับการดูแลที่ถูกต้อง และได้รับการฉีดวัคฉีดสร้างภูมิคุ้มกันในเด็กให้ครบถ้วน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถช่วยเหลือตนเองได้
  2. เพื่อเป็นการลดภาระให้กับผู้ดูแลผู้พิการและครอบครัว เมื่อผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองหลังได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
  3. เพื่อให้ผู้พิการได้พัฒนาคุณภาพชีวิต อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้
  2. การฝึกปฏิบัติ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้ มีทักษะ สามารถให้การดูแลและฟื้นฟูสมรรถภาพผู้พิการได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม
2.ลดภาระให้กับผู้ดูแลผู้พิการและครอบครัว เมื่อผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองหลังได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
3.ผู้พิการได้พัฒนาคุณภาพชีวิต อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถช่วยเหลือตนเองได้
ตัวชี้วัด : ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพ ที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถช่วยเหลือตนเองได้
50.00 1.00

 

2 เพื่อเป็นการลดภาระให้กับผู้ดูแลผู้พิการและครอบครัว เมื่อผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองหลังได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ
ตัวชี้วัด : ผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองหลังได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพจากผู้ดูแลผู้พิการ
50.00 1.00

 

3 เพื่อให้ผู้พิการได้พัฒนาคุณภาพชีวิต อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้พิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ได้ประกอบอาชีพและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในชุมชน
50.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ดูแลผู้พิการมีความรู้ ความเข้าใจ ในการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพที่ถูกต้องเหมาะสมและสามารถช่วยเหลือตนเองได้ (2) เพื่อเป็นการลดภาระให้กับผู้ดูแลผู้พิการและครอบครัว เมื่อผู้พิการสามารถช่วยเหลือตนเองหลังได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ (3) เพื่อให้ผู้พิการได้พัฒนาคุณภาพชีวิต อยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ (2) การฝึกปฏิบัติ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเสริมสร้างศักยภาพผู้ดูแลผู้พิการตำบลกายูคละ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2518-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนันทิยา ไหมทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด