กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการการดูแลผู้ป่วยและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากโควิด-19 ในชุมชน อสม.รพ.สต.เฉลิม
รหัสโครงการ 65-L2503-02-04
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรม อสม.รพ.สต.เฉลิม
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2565 - 31 สิงหาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 48,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ น.ส.อานูซะห์ วามะ (ประธาน อสม.ตำบลเฉลิม)
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเฉลิม อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 1 เม.ย. 2565 31 ส.ค. 2565 48,000.00
รวมงบประมาณ 48,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 940 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากโรคติดเชื้อโควิด-19
100.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วยสถานการณ์โรคโควิด-19 ของจังหวัดนราธิวาส มียอดผู้ป่วยสะสมตั้งแต่เดือนมกราคม 2565 ถึงปัจจุบัน มียอดผู้ป่วยทั้งสิ้น จำนวน 4,401 คน เสียชีวิต 9 ราย และอำเภอระแงะ มีผู้ป่วยสะสม จำนวน 581 คน และผู้ป่วยเสียชีวิตสะสม จำนวน 2 ราย สำหรับตำบลเฉลิม พบว่า มีผู้ป่วยสะสม จำนวน 45 ราย เสียชีวิต จำนวน 0 ราย และจากการรายงานและรับแจ้งจาก อาสาสสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) พบว่า ประชาชนในละแวกรับผิดชอบ ป่วยโรคที่มีอาการคล้ายไข้หวัด มีอาการไข้ มีน้ำมูก ไอ เจ็บคอ และปวดเมื่อย จำนวนมาก และบางคนไม่ประสงค์ตรวจหาโรค ด้วย ATK อาจจะเกิดจาก ขาดความรู้ ความเข้าใจ และความเชื่อที่ผิดๆ
จากสถานการณ์โรคโควิด-19 (โอไมครอน) ในชุมชนปัจจุบันนี้ ส่งผลทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) มีภาระงานในหน้าที่ที่ต้องดำเนินการให้ประชาชนปฏิบัติตนตามมาตรการของภาครัฐ สามารถลดอัตราป่วยลงได้มาก และยังสามารถปฏิบัติตามเงื่อนไขของการกักตัวที่บ้าน เพื่อเฝ้าสังเกตุอาการ (Home Isolation) และที่สำคัญคือ ประชาชนทั่วไป ผู้ป่วยและประชาชนกลุ่มเสี่ยงจะได้รับการดูแลอย่างถูกต้อง เพื่อลดการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เยี่ยมบ้านประชาชนที่ป่วยด้วยโรคโควิด-19 กรณีที่กักตัวเพื่อรักษาโรคที่บ้าน (Home Isolation) ทำหน้าที่ดูแล ให้คำแนะนำเกี่ยวกับมาตรการลดการแพร่ระบาดไปยังบุคคลอื่นๆ ภายในครอบครัว และสอนวิธีการรายงานในระบบการบริการทางการแพทย์ทางไกล 2.เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) เยี่ยมบ้านประชาชนที่มีบ้านอยู่ในละแวกใกล้เคียงกับบ้านผู้ป่วยที่กำลังรักษาที่บ้าน (Home Isolation) เน้นให้สุขศึกษา คำแนะนำเกี่ยวกับมาตรการป้องกันโควิด-19 ให้ถือปฏิบัติตามมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดโดยเคร่งครัด 3.เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคโควิด-19 (โอไมครอน) ลง 4.เพื่อสร้างความรัก ความห่วงใย และกำลังใจแก่ผู้ป่วยและประชาชนกลุ่มเสี่ยง ภายใต้สโลแกนว่า "เรา อสม.ไม่ทิ้งกัน"

 

100.00 0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณเม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65ก.ค. 65ส.ค. 65
1 อสม.เยี่ยมประชาชน อสม. 1 คน ต่อ ประชาชน 20 คน(1 เม.ย. 2565-31 ส.ค. 2565) 48,000.00          
รวม 48,000.00
1 อสม.เยี่ยมประชาชน อสม. 1 คน ต่อ ประชาชน 20 คน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 940 48,000.00 0 0.00
1 เม.ย. 65 - 31 ส.ค. 65 อสม.เยี่ยมประชาชน 940 48,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนได้รับการดูแลสุขภาพที่ดีในระหว่างรักษาโรคโควิด-19 ที่บ้าน (Home Isolation) จาก อสม.ประจำครอบครัว ตามภาระหน้าที่ที่ อสม.ได้รับมอบหมาย 2.ประชาชนลออัตราป่วยด้วยโรคโควิด-19 ลง

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 25 ม.ค. 2565 15:32 น.