กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ


“ พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติด เขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 ”

ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางวาสนา กาญจนะ

ชื่อโครงการ พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติด เขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65L7487111 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 15 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติด เขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติด เขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติด เขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65L7487111 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 15 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จิตเภทเป็นโรคทางจิตเวชชนิดหนึ่งที่มีอาการทางจิต ทั้งอาการเฉียบพลันและอาการรุนแรง มีการดำเนินโรคแบบเรื้อรัง เป็นโรคที่มีความผิดปกติด้านความคิด การรับรู้ อารมณ์และพฤติกรรม (สุวนีย์,2554;อรพรรณ,2554) อุบัติการณ์การเกิดโรคจิตเภทในประเทศไทยพบผู้ป่วยประมาณ 15.2 ต่อ 100,000 คนต่อปี และประมาณร้อยละ 95 ของผู้ป่วยจะเจ็บป่วยเรื้อรังไม่หายขาดและร้อยละ 70 มีโอกาสกลับเป็นซ้ำสูง (กรมสุขภาพจิต,2555) สำหรับสถานการณ์โรคจิตเภท ในอำเภอ ตากใบปี 2557 - 2560 มีผู้ป่วยจิตเภททั้งหมด 270 , 275และ 287 คนตามลำดับ ซึ่งค่ารักพยาบาลในส่วนของผู้ป่วยนอกเฉลี่ยในผู้ป่วยจิตเภททั้งหมด 3,000 – 5,000 บาทต่อคนต่อปี (ศูนย์ข้อมูลสารสนเทศโรงพยาบาลตากใบ, 2560) จะเห็นได้ว่ารัฐต้องสูญเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาการักษาพยาบาลผู้ป่วยจิตเภทเป็นเงินจำนวนมาก จากการที่ผู้ป่วยมีอาการกำเริบซ้ำ ควบคุมอาการไม่ได้ หรือแม้กระทั่งการมีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยและญาติ พบว่ามีจำนวนหนึ่งที่พยายามแสวงหาทางช่วยเหลือโดยการนำผู้ป่วยไปทำพิธีทางไสยศาสตร์ เช่น การดื่มยาต้ม การเป่าเสก น้ำมนต์ การทำพิธีขับไล่ผี/วิญญาณ และเมื่อรักษาไปแล้วผู้ป่วยยิ่งมีอาการไม่ดีขึ้นก็จะไม่กล้านำผู้ป่วยกลับเข้ามารักษาต่อในโรงพยาบาล แต่จะนำผู้ป่วยไปล่ามขังแทน ส่งผลให้ผู้ป่วยกำเริบหนักมากขึ้นและอาการทางจิตผู้ป่วยยิ่งแย่ลง(บุษกร, 2557) จากข้อมูลการดำเนินงานในคลินิกจิตเวชของโรงพยาบาลตากใบในปี 2562 และ 2563 พบว่ามีผู้ป่วย จิตเวชเพิ่มขึ้นจำนวน 522 คน และ588 คนซึ่งปัญหาที่พบในผู้ป่วยคือการกลับเป็นซ้ำและการมีพฤติกรรมรุนแรงทำร้ายตนเองและบุคคลอื่นๆ ส่งผลให้ไม่สามารถนำผู้ป่วยส่งมารับบริการที่โรงพยาบาลได้ จากปัญหาดังกล่าวจึงได้ประชุมคณะกรรมการดูแลผู้ป่วยจิตเวชและยาเสพติดขึ้น โดยมีเนื้อหาการใช้ พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551และ2562 มีสาระเนื้อหาเกี่ยวกับสิทธิ์ของผู้ป่วยที่จะได้รับการรักษา และบทบาทของเจ้าพนักงานในการนำส่งผู้ป่วยเข้ารับการดูแลรักษา จากการประชุมดังกล่าวคณะกรรมการต้องการให้มีการอบรมให้ความรู้เรื่องผู้ป่วยจิตเวช การเจรจาต่อรองและการจำกัดพฤติกรรม เพื่อให้สามารถดูแล ส่งต่อผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างมีประสิทธิภาพกลุ่มงานจิตเวชและยาเสพติดโรงพยาบาลตากใบ อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส ได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติดเขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 นี้ขึ้น เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชได้รับการดูแลรักษาและควบคุมอาการทางจิตได้ และไม่มีพฤติกรรมรุนแรงต่อบุคคลในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช สาเหตุ การวินิจฉัย และการรักษา 2.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสามารถในการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวช ได้อย่างเหมาะสม 3.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสามารถในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคทางจิตเวช และครอบครัวให้สามารถป้องกัน การกำเริบซ้ำที่จะเกิดขึ้นและดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข 4.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราการกลับเป็นซ้ำในผู้ป่วยจิตเวชและสารเสพติดลดลง
  2. ผู้ป่วยจิตเวชและสารเสพติดได้รับการส่งต่อรักษาพยาบาล
  3. ครอบครัว ชุมชนปลอดภัยจากพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยจิตเวชและสารเสพติด

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช สาเหตุ การวินิจฉัย และการรักษา 2.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสามารถในการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวช ได้อย่างเหมาะสม 3.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสามารถในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคทางจิตเวช และครอบครัวให้สามารถป้องกัน การกำเริบซ้ำที่จะเกิดขึ้นและดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข 4.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความเข้าใจเกี่ยวกับโรคทางจิตเวช  สาเหตุ การวินิจฉัย และการรักษา  2.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสามารถในการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวช  ได้อย่างเหมาะสม 3.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความสามารถในการช่วยเหลือผู้ป่วยโรคทางจิตเวช  และครอบครัวให้สามารถป้องกัน    การกำเริบซ้ำที่จะเกิดขึ้นและดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างมีความสุข 4.เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีการนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


พัฒนาศักยภาพการดูแลผู้ป่วยโรคทางจิตเวชและยาเสพติด เขตเทศบาลเมืองตากใบ จังหวัดนราธิวาส ปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65L7487111

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางวาสนา กาญจนะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด