กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-01-08 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L6895-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันวัฒนธรรมการบริโภคอาหารของประชาชนเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม นิยมประกอบอาหารเพื่อบริโภคเอง นิยมบริโภคอาหารนอกบ้านหรือบริโภคอาหารปรุงสําเร็จ สุขลักษณะสถานที่จำหน่ายอาหารจึงมีผลกระทบสำคัญต่อสุขภาพประชาชน เนื่องจากสถานที่จำหน่ายอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะอาจทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อโรค สารเคมี หรือโลหะหนัก รวมทั้งมีความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคที่เกิดจากอาหาร และน้ำเป็นสื่อ เพื่อให้สถานที่จำหน่ายอาหารมีสุขลักษณะที่ดีและลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรค กระทรวงสาธารณสุขจึงกำหนดมาตรการในการจัดการสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร และประกาศใช้กฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 ตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2561 ได้กำหนดให้ผู้ประกอบกิจการและ ผู้สัมผัสอาหารต้องผ่านการอบรมตามหลักเกณฑ์ และวิธีการที่รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของคณะกรรมการประกาศกำหนดในราชกิจจานุเบกษา โดยกำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่สามารถดำเนินการจัดการอบรมให้แก่ผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารตามที่ประกาศกระทรวงสาธารณสุขกำหนด สำรวจ ตรวจประเมินสถานประกอบกิจการ จัดทำทะเบียนสถานประกอบการประเภทสถานที่จำหน่ายอาหาร รวบรวมข้อมูลผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหารในพื้นที่รับผิดชอบ ประเมินรับรองมาตรฐานสถานที่จำหน่ายอาหาร ระดับพื้นฐาน และเฝ้าระวังสถานประกอบการสถานที่จำหน่ายอาหารให้เป็นไปตามสุขลักษณะของสุขาภิบาลอาหาร ในการนี้เพื่อเป็นการดำเนินการตามข้อกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข เรื่องสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561 เทศบาลเมืองกันตัง จึงจัดทำโครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปี 2565 ขึ้น เพื่อตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพและชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561”

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพ และชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561”

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจสารแบคทีเรียในอาหาร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้านอาหารในเขตเทศบาลเมืองกันตังผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวงสุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจสารแบคทีเรียในอาหาร

วันที่ 9 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพ และชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพ และชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561”  โดยมีกิจกรรมการประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  จำนวน 50 ร้าน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565 จัดทำขึ้นเพื่อตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพและชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561” โดยมีกิจกรรมประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองกันตัง โดยมีผลการดำเนินโครงการฯ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ 1.1 กิจกรรมประเมินสถานที่จำหน่ายอาหารในเขตพื้นที่เทศบาลเมืองกันตัง
ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561” กำหนดให้สถานที่จำหน่ายอาหารต้องผ่านเกณฑ์การประเมินมาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร 5 หมวดประกอบด้วย
1) สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร (35 ข้อ) 2) สุขลักษณะของอาหาร กรรมวิธีการทำ ประกอบ หรือปรุง การเก็บรักษา และจำหน่ายอาหาร (22 ข้อ) 3) สุขลักษณะของภาชนะ อุปกรณ์ และเครื่องใช้อื่นๆ (11 ข้อ) 4) สุขลักษณะส่วนบุคคลของผู้ประกอบกิจการและผู้สัมผัสอาหาร (6 ข้อ)
5) การตรวจการปนเปื้อนเชื้อโคลิฟอร์มแบคทีเรียในอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ และมือผู้สัมผัสอาหาร (10 ข้อ)
ซึ่งได้ประเมินร้านอาหารจำนวน 50 ร้าน มีผลการดำเนินงานดังนี้ ที่ สถานที่จำหน่ายอาหาร ผลการตรวจแนะนำที่ผ่านเกณฑ์ประเมิน หมวดที่ 1 หมวดที่ 2 หมวดที่ 3 หมวดที่ 4 หมวดที่ 5 1 ร้านบ้านเล็ก 27 20 10 6 5 2 ร้านครัวป่าไม้ 22 20 7 5 6 3 ร้านจ๊ะถม 28 20 10 6 5 4 ร้านแก้วส้มตำ 33 19 11 6 4 5 ร้านโกพจน์ 32 19 10 6 7 6 ร้านสถานีรัก 25(30) 16(16) 4(4) 6 5(9) 7 ร้านหลิงเฉิน 34 19 11 6 3(8) 8 ร้านโกไข่ 31 19 10 6 3(9) 9 ร้านยงชัย 29 18 10 6 3(9) 10 ร้านเทียนจง 32 17(17) 11 6 4(8) 11 ร้านซุ้มคู่แฝด 35 19 11 6 2 12 ร้านหม่าโถ้ว 9(9) 10(10) 9 6 5(8) 13 ร้านอาบังอาหารอิสลาม 34 20 11 6 3(9) 14 ร้านล่อคุ้ง 33 20 11 6 4(8) 15 ร้าน HOP CHAFE 30 20 11 6 4 16 ร้านครัวมีลาภ 35 20 11 6 5(9) 17 ร้านล่อคุ้ง 3 30 19 10 6 5(8)
ที่ สถานที่จำหน่ายอาหาร ผลการตรวจแนะนำ หมวดที่ 1 หมวดที่ 2 หมวดที่ 3 หมวดที่ 4 หมวดที่ 5 18 ร้านสบาย สบาย 34 19 11 6 7(9) 19 ร้านกาแฟดำ 34 20 11 6 9 20 ร้านเฮง เฮง แต่เตี้ยม 35 19 11 6 9 21 ร้านกันตังติ่มซำ 35 20 11 6 9 22 ร้านกุ๊งกิ๊งติ่มซำ 33 20 11 6 8 23 ร้านโจ๊กสิงคโปร์ 34 19 11 6 9 24 ร้านก้าวทอง 33 20 11 6 9 25 ร้านถุงชาติ่มซำ 31 19 10 6 6 26 ร้านบังเด็นติ่มซำ 30 19 10 5 7 27 ร้านบังวัฒน์กาแฟติ่มซำ 30 19 10 5 5 28 ร้านคุณลีกาแฟ 35 19 11 6 10 29 ร้าน ช ฉ่ำ 35 19 11 6 4 30 ร้านแสบปาก 34 20 11 5 7 31 ร้านโกกฤษณ์ 33 19 11 6 5 32 ร้านคอฟฟี่แทงค์ 26(30) 16(16) 4(4) 6 5(6) 33 ร้านก๋วยเตี๋ยวสายบัวสเด็ด 31 19 10 6 6 34 ร้านก๋วยเตี๋ยวสายบัว 27 20 10 6 6 35 ร้านเกาะเคี่ยม 34 20 11 5 7 36 ร้านบังเวชอาหารตามสั่ง 30 20 11 6 6 37 ร้านฮกซิ่ว 33 20 11 6 7 38 ร้านแซมข้าวต้มอาหารตามสั่ง 32 17 11 6 4 39 ร้านป้าหั้วข้าวแกง 29 18 10 6 7 40 ร้านคาเฟอีน 26(30) 16(16) 4(4) 6 5 41 ร้านชาพะยอม 26(30) 16(16) 4(4) 6 7 42 ร้านวอลแตร์ 26(30) 16(16) 4(4) 6 6 43 ร้านอินทนิล 26(30) 16(16) 4(4) 6 7 44 ร้านคองแฟรงค์ 26(30) 16(16) 4(4) 6 5 45 ร้านบายใจ 26(30) 16(16) 4(4) 6 6 46 ร้านป้าแมวข้าวมันไก่ 27 20 10 6 6 47 ร้านอุ้ยตำยำแซ่บ 30 19 10 5 5 48 ร้านครัวจ๊ะเยาว์ 31 19 10 6 7 49 ร้านครัวมุสลิม 28 20 10 6 7 50 ร้านอุ้ยยำ ตำแซ่บ ๑ กันตัง 28 20 10 6 5

1.5 สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน จำนวน 10,500 บาท ดังนี้ 1) กิจกรรมตรวจสถานที่จำหน่ายอาหาร เป็นเงิน 10,350 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพ และชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561”
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยทางด้านกายภาพ และชีวภาพของสถานที่จำหน่ายอาหาร เกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารสถานที่จำหน่ายอาหาร ตามกฎกระทรวง “สุขลักษณะของสถานที่จำหน่ายอาหาร พ.ศ. 2561”

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจสารแบคทีเรียในอาหาร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-01-08

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด