กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
เทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-01-11 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L6895-01-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 52,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ
  2. เพื่อควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน
  3. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพนักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน
  3. กิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย และเข้าถึงบริการสุขภาพได้สะดวกและรวดเร็ว
  2. สามารถควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียนได้
  3. นักเรียนมีสุขภาพดีมีการเจริญเติบโตและการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 11 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.00 - 08.45 น. ลงทะเบียน/ประเมินควารู้ก่อนอบรม 08.45 - 09.00 น. พิธีเปิด  กล่าวรายงานโดย รองนายกเทศมนตรี                         กล่าวเปิด  โดย  นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง 09.00 -09.30 น. ความสำคัญและบทบาทของนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน  โดย  วิทยากรจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง 09.30 10.30 น. สุขบัญญัติและการส่งเสริมสุขภาพอนามัย โดย วิทยากรจากสำนักงานสาธาณณสุขอำเภอกันตัง 10.30 12.00 น. ความรู้เรื่อง  โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และมาตรการการเฝ้าระวังและป้องกันโรค  โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง 12.00 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 -16.00 น.  ฝึกอบรมวิชาการด้วยฐานการเรียนรู้  โดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง  และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  (วิทยากรประจำฐานละ 1 คน)                         - ฐานการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะการตรวจร่างกายเบื้องต้น/การวัดสายตา                       - ฐานที่ 2 การป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย                       - ฐานที่ 3 การประเมินภาวะโภชนาการ/การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง และคำนวณดัชนีมวลกาย                       - ฐานที่ 4 เทคนิคการตรวจและแปลผล ATK (Antigen Test Kit) /การใส่หน้ากากอนามัย/การล้างมือ 7 ขั้นตอน 16.00 - 16.30 น. ประเมินความรู้หลังการอบรม สรุปกิจกรรมการดำเินงานของนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ ปิดการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน และครูอนามัยโรงเรียนรวมจำนวน 60 คน เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ ดดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง/สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตังและศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง
  2. วิทยากรให้ความรู้แก่นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน และครูอนามัยโรงเรียน  ในเรื่อง

- ความสำคัญและบทบาทของนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน
- สุขบัญญัติและการส่งเสริมสุขภาพอนามัย โดย วิทยากรจากสำนักงานสาธาณณสุขอำเภอกันตัง - ความรู้เรื่อง  โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 และมาตรการการเฝ้าระวังและป้องกันโรค  โดย วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง - ฝึกอบรมวิชาการด้วยฐานการเรียนรู้  โดยแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับลการอบรมเป็น 4 กลุ่มย่อย โดย วิทยากรจากศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง  และสำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตัง  (วิทยากรประจำฐานละ 1 คน) ดังนี้                       - ฐานการเรียนรู้ที่ 1 ทักษะการตรวจร่างกายเบื้องต้น/การวัดสายตา                       - ฐานการเรียนรู้ที่ 2 การป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกและการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย                       - ฐานการเรียนรู้ที่ 3 การประเมินภาวะโภชนาการ/การชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง และคำนวณดัชนีมวลกาย                       - ฐานการเรียนรู้ที่ 4 เทคนิคการตรวจและแปลผล ATK (Antigen Test Kit) /การใส่หน้ากากอนามัย/การล้างมือ 7 ขั้นตอน 3. ขอความร่วมมือครูอนามัยโรงเรียน สนับสนุนบทบาทนักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพในการดำเนินงานอนามัยโรงเรียน เช่น การตรวจสุขภาพนักเรียน  การตรวจวัดสายตา การเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การเฝ้าระวังป้องกันโรคไข้เลือดออก และการดำเนินงานป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยนักเรียนต้องเป็นอาสาสมัครช่วยดูแลสุขภาพเพื่อนนักเรียนด้วยกันและดูแลรุ่นน้อง  ดังนี้ - ติดตามข้อมูลข่าวสาร สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พื้นที่เสี่ยง คำแนะนำการป้องกันตัเอง และการลดความเสี่ยงจากการแพร่กระจายของโรคจากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถได้ - ช่วยครูตรวจคัดกรองวัดอุณหภูมิร่างกายของนักเรียนทุกคนที่มาเรียนในตอนเช้า  บริเวณทางเข้าโรงเรียน เน้นการจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล - ตรวจดูความเรียบร้อยของนักเรียนที่เข้ามาเรียน ต้องสวมหน้ากากอนามัย - เฝ้าสังเกตอาการของนักเรัียน หากมีอาการไข้ ไอ มีน้ำมูก เจ็บคอ หายใจลำบาก ให้รีบแจ้งรูทันที - จัดกิจกรรมให้ความรู้คำแนะนำการป้องกันและลดความเสี่ยงจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 แก่เพื่อนนักเรียน เช่น สอนการล้างมือที่ถูกวิธี  การสวมหน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลหรือจัดทำป้ายแนะนำต่างๆ - จัดเวรทำความสะอาดห้องเรียน และบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงทุกวัน - เป็นตัวอย่างที่ดีในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคโควิด-19 โดยถือปฏฺบัติเป็นสุขนิสัยกิจวัตรประจำวันอย่างสม่ำเสมอ 4. การประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรมก่อน-หลังการอบรม จำนวน 10 ข้อ ผลการประเมินความรู้ดังนี้ - ก่อนการอบรม  ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ย 5.65
- หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมำด้คะแนนเฉลี่ย 9.25

 

60 0

2. กิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

วันที่ 12 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.1- ป.6

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.1- ป.6 ดังนี้ - ให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันภาวะโลหิตจาง เช่น การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก - จ่ายยาเม็ดธาตุเหล็กให้แก่นักเรียนชั้น ป.1- ป.6 รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ระยะเวลา 32 สัปดาห์ โดยขอความร่้วมมือจากโรงเรียนในการดำเนินงานมอบหมายครูประจำชั้นจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กนักเรียนชั้น ป.1- ป.6 คนละ 1 เม็ด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารกลางวันทุกวันจันทร์ (ยกเว้นนักเรียนที่เป็นโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย) พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึก - จ่ายยาถ่ายพยาธิอัลเบนดาโซน (200 มก.) แก่ชั้น ป.1- ป.6 รับประทานคนละ 2 เม็ด /ปีการศึกษา ดดยขอความร่วมมือจากโรงเรียนในการจ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน คนละ 2 เม็ด พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึก - ประเมินภาวะโลหิตจาง โดยการสุ่มเจาะเลือดจากปลายนิ้ว 10 % ของนักเรียนของโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ 4 โรงเรียน

 

0 0

3. กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน

วันที่ 12 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ป.1 - ป.4 เป็นรายบุคคล และแนะนำการตรวจสุขภาพโดยใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเองแก่นักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป และให้ความรู้แก่นักเรียนและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องพร้อมให้การรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 ได้จัดสรรแบบบันทึกการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง เพื่อสนับสนุนให้แก่นักเรียนชั้น ป.5 และชั้น ม.1 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและส่งเสริมให้เด็กเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและปลูกฝังการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ในการตรวจสุขภาพด้วยตนเองภาคเรียนละ 1 ครั้ง และให้ใช้ต่อเนื่องทุกปีการศึกษาและเลื่อนชั้นตามตัวนักเรียน
  2. ให้การรักษา/คำแนนะนำแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในนักเรียนที่มี เหา มีแผล ผื่นคัน กลากเกลื้อน หวัด และส่งรักษาต่อในนักเรียนที่มีปัญหาฟันผุ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. การอบรมเชิงปฏิบัติการแก่นักเรียนแกนนำส่งเสริมสุขภาพ/เยาวชนสาธารณสุขในโรงเรียน และครูอนามัยโรงเรียนรวมจำนวน 60 คน ในวันที่ 11 สิงหาคม 2565 เวลา 08.00 น. -16.30 น. ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจและมีทัศนคติที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง รวมทั้งสามารถปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี และสามารถเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ และช่วยเหลือนักเรียนในโรงเรียนในการให้บริการงานอนามัยโรงเรียน โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง/สำนักงานสาธารณสุขอำเภอกันตังและศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 12.3 ตรัง
  2. จัดกิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน ป.1 - ป.4 เป็นรายบุคคล และแนะนำการตรวจสุขภาพโดยใช้แบบตรวจสุขภาพด้วยตนเองแก่นักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป และให้ความรู้แก่นักเรียนและการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องพร้อมให้การรักษาเบื้องต้นแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพ สำหรับนักเรียนชั้น ป.5 ได้จัดสรรแบบบันทึกการตรวจสุขภาพนักเรียนด้วยตนเอง เพื่อสนับสนุนให้แก่นักเรียนชั้น ป.5 และชั้น ม.1 ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองและส่งเสริมให้เด็กเกิดความตระหนักในการดูแลสุขภาพและปลูกฝังการมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ในการตรวจสุขภาพด้วยตนเองภาคเรียนละ 1 ครั้ง และให้ใช้ต่อเนื่องทุกปีการศึกษาและเลื่อนชั้นตามตัวนักเรียน
  3. ให้การรักษา/คำแนนะนำแก่นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพในนักเรียนที่มี เหา มีแผล ผื่นคัน กลากเกลื้อน หวัด และส่งรักษาต่อในนักเรียนที่มีปัญหาฟันผุ
  4. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางแก่นักเรียนชั้น ป.1- ป.6 ดังนี้

- ให้ความรู้แก่นักเรียนในการป้องกันภาวะโลหิตจาง เช่น การรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็ก - จ่ายยาเม็ดธาตุเหล็กให้แก่นักเรียนชั้น ป.1- ป.6 รับประทานสัปดาห์ละ 1 เม็ด ระยะเวลา 32 สัปดาห์ โดยขอความร่้วมมือจากโรงเรียนในการดำเนินงานมอบหมายครูประจำชั้นจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กนักเรียนชั้น ป.1- ป.6 คนละ 1 เม็ด สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ก่อนอาหารกลางวันทุกวันจันทร์ (ยกเว้นนักเรียนที่เป็นโรคโลหิตจางธาลัสซีเมีย) พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึก - จ่ายยาถ่ายพยาธิอัลเบนดาโซน (200 มก.) แก่ชั้น ป.1- ป.6 รับประทานคนละ 2 เม็ด /ปีการศึกษา ดดยขอความร่วมมือจากโรงเรียนในการจ่ายยาถ่ายพยาธิแก่เด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาทุกคน คนละ 2 เม็ด พร้อมลงบันทึกการรับประทานยาในแบบบันทึก - ประเมินภาวะโลหิตจาง โดยการสุ่มเจาะเลือดจากปลายนิ้ว 10 % ของนักเรียนของโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ 4 โรงเรียน 5. ตรวจคัดกรองสายตานักเรียนชั้น ป.1 ทุกคน และส่งต่อนักเรียนที่มีภาวะสายตาผิดปกติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1 - ป.4 ได้รับการตรวจสุขภาพโดยบุคลากรสาธารณสุข และนักเรียนชั้น ป.5 ขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพด้วยตนเองอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง 2. ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1 ได้รับการทดสอบสายตาปีละ 1 ครั้ง 3. ร้อยละ 100 นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพได้รับการรักษาเบื้องต้นหรือส่งต่อรักษา 4. ร้อยละ 100 นักเรียนชั้น ป.1 ขึ้นไป ได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก 1 เม็ด/สัปดาห์

 

3 เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพนักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเองได้ถูกต้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีสุขภาพดี มีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม เติบโตสมวัย และสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ (2) เพื่อควบคุมป้องกันโรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในเด็กวัยเรียน (3) เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพนักเรียน และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมตรวจสุขภาพนักเรียน (3) กิจกรรมเพื่อป้องกันภาวะโลหิตจาง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กวัยเรียน เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-01-11

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด