กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปี 2565 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-02-26 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L6895-02-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีมากขึ้น วิถีชีวิตของมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงไป มีสิ่งอำนวยความสะดวกมากขึ้น ทำให้มีการเคลื่อนไหวออกแรงกายลดลง ซึ่งเป็นผลเสียต่อสุขภาพเป็นอย่างยิ่ง การออกกำลังกายและการเล่นกีฬา มีประโยชน์ต่อสุขภาพ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ อีกทั้งยังเป็นการป้องกันโรคเรื้อรังต่าง ๆ เช่นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด ซึ่งโรคเรื้อรังเหล่านี้กำลังมีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง การออกกำลังกายแบบบาสโลบ นอกจากจะเป็นการสร้างกระแสส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายที่เป็นรูปแบบ ยังช่วยส่งเสริมให้มีความสมัครสมานสามัคคี ในการทำกิจกรรมกลุ่มเพื่อสาธารณะ และตามนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดให้มีกิจกรรมส่งเสริม 3อ. (ฮาหาร อารมณ์ ออกกำลังกาย) เพื่อลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง การออกกำลังกายเป็นตัวชี้วัด ตัวหนึ่งที่จะบรรลุเกณฑ์การเป็นชุมชนสุขภาพดี
ทางกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นความสำคัญในการดูแลส่งเสริมสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง มีการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น ลดภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ในระดับหนึ่ง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง มีความรู้ และทักษะในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  2. เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง มีการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น ลดภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  2. กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง ที่เข้าร่วมกิจกรรม ได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพ และมีทักษะการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
  2. สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 21 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน โดย  กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง 09.00 น. - 09.10 น. พิธีเปิด
- กล่าวเปิด  โดย  นายสรนนท์  จิโรจน์มนตรี  นายกเทศมนตรีเมืองกันตัง
- กล่าวรายงาน  โดย  นางทัศนีย์  พลหลา  ประธานกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง 09.10 น. - 10.00 น. บรรยายเรื่อง  การดูแลส่งเสริมสุขภาพ 3 อ 2 ส
โดย  วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
      ( คุณเอื้องไพร  พรมจิตร์  นักวิชาการสาธณสุขปฏิบัติการ ) 10.00 น. - 10.10 น. พัก 10.10 น. - 12.00 น. บรรยายเรื่อง  หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โดย  วิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง
      ( คุณเอื้องไพร  พรมจิตร์  นักวิชาการสาธณสุขปฏิบัติการ ) 12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 14.00 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การออกกำลังกายแบบบาสโลบ โดย  วิทยากรคุณฐายิกา  ภู่เจริญ 14.00 น. - 14.10 น. พัก 14.10 น. – 15.00 น. บรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติ  เรื่อง  การออกกำลังกายแบบบาสโลบ (ต่อ) โดย  วิทยากรคุณฐายิกา  ภู่เจริญ 15.00 น. – 15.30 น. ตอบข้อซักถาม/สรุปผลการเรียนรู้ ประเมินความพึงพอใจ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม  ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง  จำนวน  40  คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น  พบว่า  มีรอบเอวเกิน  จำนวน  22  คน  โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
  2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตังให้ความรู้เรื่อง  การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส  หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ  และบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง  การออกกำลังกายด้วยบาสโลบ  เมื่อวันที่  21  กรกฎาคม  2565  ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน  41 คน  โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการออกกำลังกายมาให้ความรู้ดังกล่าว  พร้อมประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด  ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
  3. ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  จำนวน 41 คน  แต่ผู้เข้ารับการอบรมตอบกลับแบบประเมิน จำนวน  40  คน ผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ  90.6  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.53  ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
    3.1 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.44 คิดเป็นร้อยละ 88.8

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.38  คิดเป็นร้อยละ 87.6 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย  4.53  คิดเป็นร้อยละ  90.6 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.40 คิดเป็นร้อยละ  88 3.2  ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.34  คิดเป็นร้อยละ  86.8
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ  86
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.35  คิดเป็นร้อยละ  87 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย  4.38  คิดเป็นร้อยละ  87.6 3.3  ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89 3.4  ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6 ข้อเสนอแนะ
1). เป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตื่นตัวในการทำกิจกรรม 2). ควรมีการจัดกิจกรรมในรูปแบบออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพที่ดีของสมาชิกในกลุ่ม 3). เป็นโครงการที่ดี อยากให้มีการจัดต่อเนื่องในปีถัดไป

 

40 0

2. กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง

วันที่ 25 กรกฎาคม 2565 เวลา 15:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย  เป็นระยะเวลา 1 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย  เป็นระยะเวลา 1 เดือน  ตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคมถึงวันที่ 19  สิงหาคม  2565 โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย จำนวน 12 ครั้ง  มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยครั้งละ  25-40 คน  โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง จำนวน 40 คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น พบว่า มีรอบเอวเกิน จำนวน 22 คน โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
  2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตังให้ความรู้เรื่อง การดูแลส่งเสริมสุขภาพด้วย 3 อ 2 ส หลักการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ และบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติเรื่อง การออกกำลังกายด้วยบาสโลบ เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2565 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวน 41 คน โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตังและวิทยากรผู้เชี่ยวชาญด้านการออกกำลังกายมาให้ความรู้ดังกล่าว พร้อมประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม  โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
  3. ผลการประเมินความพึงพอใจผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 41 คน แต่ผู้เข้ารับการอบรมตอบกลับแบบประเมิน จำนวน 40 คน ผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 90.6 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้
    3.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.44 คิดเป็นร้อยละ 88.8

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 คิดเป็นร้อยละ 87.6 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6 - สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88 3.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.34 คิดเป็นร้อยละ 86.8
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.30 คิดเป็นร้อยละ 86
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.35 คิดเป็นร้อยละ 87 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.38 คิดเป็นร้อยละ 87.6 3.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.45 คิดเป็นร้อยละ 89 3.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6 ข้อเสนอแนะ
1). เป็นการจัดกิจกรรมที่ดี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความตื่นตัวในการทำกิจกรรม 2). ควรมีการจัดกิจกรรมในรูปแบบออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง เพื่อสุขภาพที่ดีของสมาชิกในกลุ่ม 3). เป็นโครงการที่ดี อยากให้มีการจัดต่อเนื่องในปีถัดไป
4. จัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย เป็นระยะเวลา 1 เดือน ตั้งแต่วันที่ 25 กรกฎาคมถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 โดยมีวิทยากรนำออกกำลังกาย จำนวน 12 ครั้ง มีผู้สนใจเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายอย่างน้อยครั้งละ 25-40 คน โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 5. ประเมินทักษะของสมาชิกผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายหลังเข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกาย 1 เดือน พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายร้อยละ 90 สามารถออกกำลังกายแบบบาสโลบได้อย่างถูกต้อง 6. คัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกาย พบว่า มีรอบเอวลดลง จำนวน 7 คน
7. สรุปค่าใช้จ่ายการดำเนินกิจกรรม/โครงการฯ จำนวนทั้งสิ้น 22,950.- บาท รายละเอียดดังนี้ กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  - ค่าป้ายโครงการ 1 ผืน  เป็นเงิน  325  บาท   - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน  2,800 บาท   - ค่าอาหารว่าง/เครื่องดื่ม เป็นเงิน  2,400 บาท   - ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นเงิน  3,000 บาท   - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน/อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  375  บาท กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง - ค่าตอบแทนวิทยากรนำออกกำลังกาย 1 เดือน เป็นเงิน  3,600 บาท - ค่าครุภัณฑ์เครื่องขยายเสียงเคลื่อนที่แบบลากจูง 1 เครื่อง เป็นเงิน  8,800 บาท - ค่าเจลล้างมือแอลกอฮอล์ ขนาด 500 มล. 3 ขวด เป็นเงิน  450  บาท - ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอลมีขาตั้ง 1 เครื่อง เป็นเงิน  1,200 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง มีความรู้ และทักษะในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง มีการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น ลดภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0 40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง  มีความรู้  และทักษะในการออกกำลังกายที่ถูกต้อง (2) เพื่อส่งเสริมให้สมาชิกกลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง  มีการออกกำลังกายเพิ่มมากขึ้น ลดภาวะเสี่ยงต่อโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยการออกกำลังกายแบบบาสโลบ ปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-02-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่มสตรีเทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด