กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงโรคเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีระดับน้ำตาลลดลง ร้อยละ 10
27.16 0.00

 

2 เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนมีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าความดันโลหิตลดลง ร้อยละ 10
7.82 0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงที่เข้าร่วมโครงการสามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี เพิ่มขึ้น ร้อยละ 5
48.30 0.00

 

4 เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกิน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกินที่เข้าร่วมโครงการ มีค่าดัชนีมวลกายลดลง ร้อยละ 10
25.39 0.00

 

5 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน
ตัวชี้วัด : มีกลุ่มออกกำลังกายในชุมชนอย่างน้อย 1 กลุ่ม
0.00 1.00

 

6 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
69.92 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1307
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 452
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 414
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 441
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคเบาหวาน (2) เพื่อแก้ไขปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับน้ำตาลและความดันโลหิตได้ดี (4) เพื่อส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง ลดโรค ของประชาชนที่มีค่าดัชนีมวลกายเกิน (5) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายในชุมชน (6) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ดำเนินการกิจกรรมรณรงค์การออกกำลังกายในหมู่บ้าน จำนวน 1 ครั้ง เพื่อสร้างกระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน หมู่บ้านละ 30 คน จำนวน 5 หมู่บ้าน รวม 150 คน (2) กิจกรรมตรวจคัดกรองสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่1 (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในเรื่องการบริโภคอาหาร การออกกำลังกาย และการจัดการอารมณ์ (4) ดำเนินการออกกำลังกาย ในคลินิก DPAC สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 1 ชั่วโมง จำนวน 8 สัปดาห์ (5) ติดตามภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการ ครั้งที่2 (6) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh