กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย ”

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่

ชื่อโครงการ โครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย

ที่อยู่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1483-03-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2564 ถึง 1 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1483-03-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2564 - 1 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 4,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พฤติกรรมและทักษะชีวิตของมนุษย์ ได้จากการเรียนรู้และสะสมประสบการณ์ สังคมก็มีความคาดหวังให้เด็กแต่ละคนแสดงพฤติกรรมที่เหมาะสมในแต่ละช่วงอายุ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลบางด้วน มีการจัดการศึกษาเตรียมความพร้อมระดับปฐมวัยช่วงอายุ 2-5 ปี ได้จัดประสบการณ์การเรียนรู้ผ่านการเล่น โดยเสริมสร้างพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์และจิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา ซึ่งการเล่นจะทำให้เด็กมีความสุขได้มากกว่าการเรียนรู้ผ่านวิชาการเพียงอย่างเดียว ซึ่งการพัฒนาการด้านร่างกายที่ดีถือเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยให้พัฒนาการด้านอื่นดีไปด้วย และนอกจากเด็กจะได้รับอาหารที่มีประโยชน์และเพียงพอต่อความต้องการารของร่างกายแล้ว การออกกำลังกายก็มีความจำเป็นในการเสริมสร้างพัฒนาการของร่างกายเป็นอย่างมาก การได้ออกกำลังกายโดยใช้อุปกรณ์ เด็กจะได้ใช้ประสาทสัมผัสอย่างเต็มที่ การเดิน วิ่ง กระโดด ปีนป่ายและการเคลื่อนไหวร่างกายส่วนต่างๆ จะช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็กให้แข็งแรงขึ้น ซึ่งการนำอุปกรณ์เครื่องเล่นกีดขวาง ชุด รั่วกระโดดหรรษา และชุด สะพานหรรษา เข้ามาใช้ในการออกกำลังกายจะช่วยให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัว การตัดสินใจใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง เป็นการประสานงานระหว่างตา มือ และเท้า
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ จึงจัดทำโครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย เพื่อให้เด็กมีทักษะการทรงตัวที่ดี และเพื่อให้เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กได้อย่างคล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 เด็กได้รับการฝึกทักษะการทรงตัวที่ดี 2 เด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กได้อย่างคล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย

วันที่ 1 ตุลาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

4.1 ขั้นเตรียมการ (P) เขียนโครงการ/ประชุม/ลงมติ 4.2 ขั้นดำเนินการ (D) ดำเนินการตามโครงการ/การเบิกจ่ายงบประมาณ/จัดซื้ออุปกรณ์ 4.3 ขั้นนิเทศติดตามผล (C) ติดตามและประเมินผลการดำเนินโครงการ 4.4 ขั้นประเมินและรายงานผล (A) สรุปรายงานผลการดำเนินโครงการฯ นำเสนอฝ่ายบริหาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครูจัดทำรั่วกระโดดหรรษา 3 ชุด ชุดละ 10 ชิ้น และสะพานหรรษษ 3 ชุด สำหรับแต่ละห้องเรียนโโยให้เด็กฝึกเรียนรู้การทรงตัว การตัดสินใจใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง เป็นการประสานงานระหว่างระหว่างตามือ และเท้า จากการสังเกตุและบันทึกพัฒนาการเด็ก เด็กมีทักษะการทรงตัวที่ดี และเด็กสามารถใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และกล้ามเนื้อมัดเล็กได้อย่างคล่องแคล่วเหมาะสมกับวัย

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 35
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมทักษะการทรงตัวสำหรับเด็กปฐมวัย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1483-03-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านป่าแก่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด