กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน


“ โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย ”

ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ที่อยู่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L148301-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 29 เมษายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางด้วน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L148301-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 29 เมษายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางด้วน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยก้าวสู่สังคมสูงอายุ (Aging Society) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 และมีแนวโน้มสถานการณ์ผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วทั้งจำนวนและสัดส่วน โดยพบว่าประชากรที่มีอายุ 65 ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 7.4 หรืออายุ 60 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 12 มีการคาดการณ์ว่าอีก 20 ปี ข้างหน้า ประเทศไทยจะเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด(Super aged society) ซึ่งหมายถึงมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ 20 ขึ้นไป หรืออาจกล่าวได้ว่าในอีก 7 ปี ข้างหน้า (พ.ศ.2564) ประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์(Aged Society) ในขณะที่แนวโน้มผู้สูงอายุอยู่คนเดียวหรืออยู่ลำพังกับคู่สมรสเพิ่มมากขึ้น ซึ่งมีผลต่อการให้การดูแลผู้สูงอายุ ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย โดยเฉพาะเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง โรคมะเร็ง ซึ่งโรคเหล่านี้ล้วนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นและเป็นโรคที่รักษาไม่หาย โดยในปี พ.ศ.2564 ตำบลบางด้วนมีผู้สูงอายุ จำนวน 639 คน แบ่งกลุ่มตามความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน(ADL) จำแนกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มติดสังคม จำนวน 592 คน คิดเป็นร้อยละ 92.64 กลุ่มติดบ้าน จำนวน 37 คน คิดเป็นร้อยละ 5.79 กลุ่มติดเตียง จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 0.16 ผู้สูงอายุมีแนวโน้มป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและมีภาวะพึ่งพิงเพิ่มขึ้น ทำให้มีภาวะพึ่งพึงที่ต้องการการดูแลอย่างต่อเนื่องและระยะยาว โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน ตระหนักถึงความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ จึงดำเนินงานโครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุตำบลบางด้วน เพื่อให้ผู้สูงอายุประเมินพฤติกรรมสุขภาพของตนเองแบบองค์รวมทั้งสุขภาพกายและจิต โดยใช้สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ(BLUE BOOK) เป็นสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวของตนเอง ทราบข้อมูลสถานะสุขภาพของตนเอง ส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ พร้อมทั้งสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชนและท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบข้อมูลสถานะสุขภาพของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการประเมินพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพ
2.ผู้สูงอายุทราบข้อมูลสถานะสุขภาพของตนเองและมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติโครงการ
  2. จัดทำสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ(BLUE BOOK)
  3. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขแนะนำวิธีการบันทึกข้อมูลสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุฯ แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และตัวแทนผู้สูงอายุ
  4. อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) และตัวแทนผู้สูงอายุ แนะนำการบันทึกข้อมูลสุขภาพของตนเองแก่ผู้สูงอายุและใช้เป็นสมุดประจำตัว และส่งต่อข้อมูลให้เจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  5. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสรุปข้อมูลการประเมินสุขภาพและแจ้งข้อมูลสถานะสุขภาพแก่ผู้สูงอายุรายบุคคล 6.เจ้าหน้าที่สาธารณสุขแนะนำการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพให้ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรองสุขภาพและบันทึกข้อมูลสุขภาพในสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อการส่งเสริมสุขภาพ (ฺBLUE BOOK) และผลจากการคัดกรองความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) ของผู้สูงอายุแบ่งเป็นกลุ่มติดสังคม 615 คน กลุ่มติดบ้าน 53 คน และกลุ่มติดเตียง 7 คน เจ้าหน้าที่สาธารณสุขสรุปผลสถานะะสุขภาพและแจ้งข้อมูลแก่ผู้สูงอายุรายบุคคล แยกประเภทเป็นกลุ่มปกติ กลุ่มป่วย และให้คำแนะนำการดูแลสุขภาพควบคู่การใช้สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ(ฺBLUE BOOK)

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบข้อมูลสถานะสุขภาพของตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 600
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อประเมินพฤติกรรมสุขภาพและภาวะสุขภาพของผู้สูงอายุ 2.เพื่อให้ผู้สูงอายุทราบข้อมูลสถานะสุขภาพของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุเตรียมรองรับสังคมสูงวัย จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L148301-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบางด้วน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด