กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการ เขตปลอดโควิด “COVID Free City” เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๕
รหัสโครงการ 65-L7250-01-4
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานสาธารณสุขอื่นของ อปท. เช่น กองสาธารณสุขของเทศบาล
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม
วันที่อนุมัติ 21 มกราคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 ธันวาคม 2564 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 240,300.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสุนทร ทองสม ตำแหน่ง นักวิชาการสุขาภิบาลชำนาญการ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 970 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

ระบุ

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ด้วย จังหวัดสงขลา แจ้งมาตรการความปลอดภัยสำหรับองค์กร (Covid Free Setting) โดยให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ปฏิบัติตามมาตรการ ตลอดจนกำกับดูแลและติดตามการดำเนินการของกิจการหรือกิจกรรมในพื้นที่ตาม “มาตรการปลอดภัยสำหรับองค์กร” (Covid Free Setting) และใช้แนวทางสำหรับผู้กำกับดูแล ติดตามการดำเนินงานของสถานที่ กิจการหรือกิจกรรมในพื้นที่ ประกอบกับ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอเมืองสงขลา ได้กำหนดให้เทศบาลนครสงขลา เป็น “COVID Free City” นั้น

ดังนั้น เพื่อให้เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา เป็นพื้นที่ COVID Free City (เป้าหมายเพิ่มเติมจากโครงการเขตปลอดโควิด “Covid Free Zone” เพื่อให้ครอบคลุมพื้นที่รับผิดชอบภายในเขตเทศบาลนครสงขลา) งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม จึงได้จัดทำโครงการ เขตปลอดโควิด “COVID Free City” เทศบาลนครสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 ๒.๑ เพื่อให้ภายในเขตเทศบาลนครสงขลา เป็นพื้นที่ COVID Free City

๑.  ร้อยละ ๑๐๐ ของสถานประกอบการผ่านเกณฑ์การประเมิน Thai Stop Covid ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข

100.00
2 ๒.2 เพื่อให้ผู้ประกอบกิจการ และประชาชนทั่วไปลดความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙)

๒.  ผู้ประกอบกิจการ และประชาชนทั่วไปลดความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – 19)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

๕.๑ ขั้นตอนการเตรียม ๕.๑.๑ เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ ๕.๑.๒ จัดทำแผนปฏิบัติงาน ๕.๒ ขั้นตอนการดำเนินการ ๕.๒.๑ ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการประเมินตนเองผ่านแพลตฟอร์ม Thai Stop Covid ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ๕.๒.๒ จัดเก็บข้อมูลสถานประกอบการ ร้านอาหาร แผงลอยจำหน่ายอาหาร รถเร่
๕.๒.๓ ปฏิบัติงานตรวจประเมินสถานประกอบการตามมาตรการ Thai Stop Covid ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ๕.๒.๔ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการและประชุมสรุปผลการปฏิบัติงานสำหรับเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน จำนวน ๒ ครั้ง ครั้งละ ๕๐ คน รวมเป็นจำนวน ๑๐๐ คน
๒ 5.2.๕ จัดกิจกรรมรณรงค์ให้ความรู้เพื่อให้ปฏิบัติตามมาตรการ COVID Free Setting “Covid Free City”
๕.๒.๖ ติดตามตรวจสอบการปฏิบัติตามมาตรการ COVID Free Setting “Covid Free City”
๕.๒.๗ สรุปผลและประเมินผลโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

11.๑ เทศบาลนครสงขลา เป็นพื้นที่ COVID Free City 11.๒ ผู้ประกอบกิจการ นักท่องเที่ยว และประชาชนทั่วไป ลดความเสี่ยงจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID - ๑๙)

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2565 12:22 น.