กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
กิจกรรมสรุปและประเมินผลโครงการ1 กุมภาพันธ์ 2565
1
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โรงเรียนเทศบาล 3 ดำเนินการสรุปเล่มโครงการและส่งมายังสำนักงานกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง เมื่อวันที่ 14 กันยายน 2565

กิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ให้แก่นักเรียน1 กุมภาพันธ์ 2565
1
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
- ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน
2. จัดทำแผนวิธีการดำเนินงานโครงการและเขียนโครงการ เสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
3. คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนก่อนการเปิดเทอมโดยชุดตรวจ ATK ในโรงเรียน
4. จัดทำทะเบียนการตรวจ โดยระบุชื่อ สกุล เลขบัตรประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ และมีการติดตามหรือให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ ATK สังเกตอาการตนเองหลังการตรวจอีก 3-5 วัน หากมีอาการไข้ ไอ ความผิดปกติทางสุขภาพให้รีบแจ้งผู้ประสานงานที่โรงเรียน อสม. ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อประเมินอาการ โดยอาจมีการตรวจด้วย ATK ซ้ำ
5. เมื่อมีผลตรวจจากการคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit แล้วให้แจ้งผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อดำเนินการตามมาตรการควบคุมโรคในส่วนที่เกี่ยวข้อต่อไป 6.สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

โรงเรียนเทศบาล 3 บ้านนาตาล่วง ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่อง คำแนะนำ การดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) แก่นักเรียน บุคคลากรทางการศึกษา ได้รับความรู้และเฝ้าระวังดูแลการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 โดยโรงเรียนได้จัดทำโฟมบอร์ด ป้ายไวนิลและสื่อมัลติมีเดีย ให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตนเองเรื่องโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้กับนักเรียนได้ตระหนักถึงอันตรายของการเกินโรค

กิจกรรมตรวจคัดกรองหาเชื้อ1 กุมภาพันธ์ 2565
1
กุมภาพันธ์ 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครตรัง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. ขั้นตอนวางแผนงาน

- ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดเป้าหมาย วัตถุประสงค์จำนวนกลุ่มเป้าหมายเนื้อหาและรูปแบบวิธีการดำเนินงานโครงการ
- แต่งตั้งเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานตามแผนงานโครงการ
- ติดต่อประสานงานหน่วยงาน/ผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันดำเนินงาน
2. จัดทำแผนวิธีการดำเนินงานโครงการและเขียนโครงการ เสนอโครงการขอรับเงินสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
3. คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในโรงเรียนก่อนการเปิดเทอมโดยชุดตรวจ ATK ในโรงเรียน
4. จัดทำทะเบียนการตรวจ โดยระบุชื่อ สกุล เลขบัตรประชาชน หมายเลขโทรศัพท์ที่ติดต่อได้ และมีการติดตามหรือให้กลุ่มที่ได้รับการตรวจ ATK สังเกตอาการตนเองหลังการตรวจอีก 3-5 วัน หากมีอาการไข้ ไอ ความผิดปกติทางสุขภาพให้รีบแจ้งผู้ประสานงานที่โรงเรียน อสม. ศูนย์บริการสาธารณสุขในพื้นที่รับผิดชอบ เพื่อประเมินอาการ โดยอาจมีการตรวจด้วย ATK ซ้ำ
5. เมื่อมีผลตรวจจากการคัดกรองด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit แล้วให้แจ้งผลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ เพื่อดำเนินการตามมาตรการควบคุมโรคในส่วนที่เกี่ยวข้อต่อไป 6.สรุปผลการดำเนินงาน และ รายงานให้คณะกรรมการกองทุนฯ ทราบเมื่อสิ้นสุดโครงการ

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทางโรงเรียนได้ดำเนินงาน นักเรียน บุคคลากรทางการศึกษา ได้รับตวามรู้และเฝ้าระวังดูแลการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ด้วยชุดตรวจ ATK ซึ่งมีการคัดกรองนักเรียนตอนเช้า เวลา 06.30-08.00 น. ประจำทุกวันที่มีการเปิดเรียน ก่อนเข้าห้องเรียนนักเรียนทุกคนจะต้องมีการล้างมือด้วยเจลล์แอลกอฮอล์อยู่เสมอ ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรมนักเรียนมีการล้างมือในจุดที่จัดเตรียมไว้ และหากนักเรียนมีการลืมหน้ากากอนามัยทางโรงเรียนจะมีหน้ากากอนามัยสำรองไว้