กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีในโรงเรียน
รหัสโครงการ 65-L8409-02-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านกุบังจามัง
วันที่อนุมัติ 23 ธันวาคม 2564
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 23,008.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ โรงเรียนบ้านกุบังจามัง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลฉลุง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
ละติจูด-ลองจิจูด 6.725,100.035place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานอนามัยแม่และเด็ก
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 0.00
รวมงบประมาณ 0.00

คำเตือน : รวมงบประมาณของทุกงวด (0.00 บาท) ไม่เท่ากับ งบประมาณโครงการ (23,008.00 บาท)

stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 92 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)     ปัญหาด้านสุขอนามัยในโรงเรียนเป็นปัญหาที่พบมากในนักเรียนระดับอนุบาลและประถมศึกษา พบว่านักเรียนมักมีปัญหาด้านสุขภาพในช่องปาก และปัญหาโรคเหา นักเรียนไม่มีความรู้ในการดูแลสุขอนามัยของตนเอง จึงควรจะเริ่มต้นส่งเสริมตั้งแต่วัยเด็ก โดยการฝึกฝนให้นักเรียนมีสุขอนามัยที่ดี และส่งเสริมป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค อันจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคของนักเรียนได้ป้องกันรวมทั้งการบำบัดรักษาในระยะเริ่มแรกของการเป็นโรค อันจะช่วยป้องกันและควบคุมโรคของนักเรียนได้ โรงเรียนบ้านกุบังจามัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขอนามัยที่ดีในโรงเรียนขึ้น เพื่อที่จะส่งเสริมให้นักเรียนในโรงเรียนทุกคนได้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขอนามัยของตนเอง โดยรู้จักดูแลช่องปากและรู้จักการแปรงฟันที่ถูกวิธีและแปรงอย่างสม่ำเสมอ การกำจัดเหา ทั้งที่บ้านและโรงเรียนควบคู่กันกันไปตั้งแต่เด็ก

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม

วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด) 1. ขั้นเตรียมการ
  1.1 สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านกุบังจามัง
  1.2 เสนอโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
  1.3 ประชุมครูเพื่อวางแผนการดำเนินงานตามโครงการ
  1.4 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
2. ขั้นดำเนินการ
  2.1 ดำเนินการตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน และโรคเหาแก่เด็กนักเรียน โดยครูประจำชั้นตามแนวทางการดำเนินงาน ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  2.2 จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้พร้อมฝึกปฏิบัติแก่นักเรียน ในเรื่องสุขภาพช่องปากและฟัน และโรคเหา
  2.3 จัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันแก่นักเรียน ทุกวัน โดยมีครูดูแลกำกับควบคุมการแปรงฟันของนักเรียน
3. ขั้นติดตามและประเมินผล
  3.1 ติดตามประเมินผลการตรวจสุขภาพช่องปากเด็กนักเรียน และป้องกันโรคเหา โดยครูประจำชั้น/ครูอนามัยโรงเรียน
  3.2 ประสานงานกับผู้ปกครอง/หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก/ฟัน ได้รับการส่งต่อเพื่อรักษาตามความเหมาะสม
4. ขั้นสรุปและรายงานผล
  4.1 สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขอนามัยที่ดี

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 3 ก.พ. 2565 16:55 น.