โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ สุวาหลำ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-65-3-2 เลขที่ข้อตกลง 25/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-65-3-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,935.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล จัดตั้งขึ้นโดยองค์กรภาคประชาชน ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้พิการและผู้ดูแลให้เข้าถึงสิทธิและให้ได้มาด้วยสิทธิอันพึงจะได้รับตามกฎหมาย ในทุกด้านรวมถึงการฟื้นฟูและพัฒนาสมรรถภาพผู้พิการตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กพิการให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย รวมถึงคุณภาพชีวิตของครอบครัวคนพิการและผู้ดูแลให้ดีขึ้น อยู่ร่วมสังคมอย่างปกติสุข และในปัจจุบันมีเด็กพิเศษอีกไม่น้อยที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐได้อย่างทั่วถึงในทุกระดับสังคม
จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ เด็กพิเศษส่วนใหญ่ยังขาดการฟื้นฟูในทุกด้าน ขาดโอกาสในการเรียนรู้สู่สังคมภายนอก อันเนื่องมาจากครอบครัวเด็กพิเศษขาดความกล้าและขาดความมั่นใจในการพาเด็กพิเศษเหล่านั้นออกสู่สังคมภายนอกที่นอกเหนือจากบ้านพักและชุมชนในครอบครัวตัวเอง อีกทั้งสังคมส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจและขาดการยอมรับเด็กพิเศษเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลให้เด็กพิเศษเหล่านั้นไม่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของเขาแต่ละบุคคล มีปัญหาในด้านสุขภาพ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งขาดกระบวนการเรียนรู้ในการเข้าสู่สังคม ประกอบกับความยากลำบากด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด - ๑๙ ทำให้เข้ารับบริการไม่ได้ ดังนั้นครอบครัวจึงมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือผู้พิการ เพื่อพัฒนาหรือรักษาทักษะให้คงอยู่กับผู้พิการ โดยการได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนในด้านต่างๆ ทั้งความรู้ ทักษะวิธีการ เทคนิคการสอนจากสื่อต่างๆ ควบคู่กับการฝึกทักษะง่ายๆในชีวิตประจำวันตามความสามารถเฉพาะบุคคล
ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของเด็กพิเศษ จึงริเริ่ม“โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว” ขึ้น เพื่อให้ครอบครัวผู้พิการมีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ เทคนิควิธีการสอนจากสื่อต่างๆ ในการพัฒนาทักษะด้านต่างๆของผู้พิการให้ดีขึ้น ตามความสามารถและศักยภาพผู้พิการรายบุคคล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ
- การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแล ผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด – ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ
- นำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ
- นำสื่อไปใช้พัฒนาผู้พิการออทิสติก
- ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
เจ้าหน้าที่ ครู อาสาสมัครพี่เลี้ยงคนพิการ ผู้ดูแ
25
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
๑. สื่อพัฒนาทักษะทางร่างกายทางสติปัญญาและทางการพูดและภาษา
๑.๑สื่อกายอุปกรณ์ม้าโยกจำนวน๓ตัว
๑.๒สื่อภาพเคลื่อนไหว๙หมวดๆละ๑๐ชิ้นจำนวน๒ชุดรวมเป็น๑๘๐ชิ้น
๑.๓สมุดภาพและแบบฝึกอ่านอย่างละ๕เล่มและแบบฝึกเขียน๓แบบๆละ๑๐เล่มรวมเป็น๔๐เล่ม
๒. ครูอาสาสมัครและผู้ดูแลผู้พิการร้อยละ ๑๐๐มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด- ๑๙และการใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล
ผลลัพธ์
ครูอาสาสมัครและผู้ดูแล มีนำความรู้ที่ได้ปรับใช้ในในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด – ๑๙และนำสื่อที่ได้รับจัดกิจกรรมพัฒนาผู้พิการตามศักยภาพของผู้พิการทำให้ผู้พิการมีพัฒนาการทางร่างกายและลดพฤติกรรมการเคลื่อนไหวซ้ำๆของข้อต่อส่งผลให้ผู้พิการมีบุคลิกภาพและสุขภาพดีขึ้นเต็มศักยภาพของผู้พิการตามแผนพัฒนาศักยภาพผู้พิการรายบุคคลรวมถึงทักษะการพูดและการใช้ภาษาบอกความต้องการของตนเองให้ผู้อื่นทราบและผู้พิการสามารถดำเนินชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ
วันที่ 7 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
1.การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ
2.การนำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ
3.ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สื่อพัฒนาทักษะทางร่างกาย ทางสติปัญญา และทางการพูดและภาษา
๑.๑ สื่อกายอุปกรณ์ม้าโยกจำนวน ๓ ตัว
๑.๒ สื่อภาพเคลื่อนไหว ๙ หมวดๆละ ๑๐ ชิ้น จำนวน ๒ ชุด รวมเป็น ๑๘๐ ชิ้น
๑.๓ สมุดภาพและแบบฝึกอ่านอย่างละ ๕ เล่ม และแบบฝึกเขียน ๓ แบบๆละ ๑๐ เล่ม รวมเป็น ๔๐ เล่ม
0
0
2. การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแล ผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด – ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ
วันที่ 15 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ
การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ (อบรม ๑ วัน)
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล
0
0
3. ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำ
ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรมรายบุคคล
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
บุคคลออทิสติกได้รับการพัฒนาจากการใช้สื่อ และส่งเสริมศักยยภาพของผู้ดูแลผู้พิการ
25
0
4. นำสื่อไปใช้พัฒนาผู้พิการออทิสติก
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำ
นำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้พิการบุคคลออทิสติกได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำ และสะกดคำ
25
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานและเตรียมความพร้อม
1.1 ประชุมทำโครงการและเสนอโครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
1.2 ประชุมชี้แจงแผนงาน และมอบผู้ดำเนินงาน มีการประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูลเพื่อแบ่งงานตามแผนการที่วางไว้
1.3 ดำเนินการจัดทำและผลิตสื่อ
-สื่อกายอุปกรณ์ ม้าโยก
-สื่อภาพเคลื่อนไหวสไลด์
-สื่อสมุดภาพแบบฝึกอ่าน
-สื่อสมุดภาพแบบฝึกเขียน
-สื่อกายอุปกรณ์ ม้าโยก
-สื่อภาพเคลื่อนไหวสไลด์
-สื่อสมุดภาพแบบฝึกอ่าน
-สื่อสมุดภาพแบบฝึกเขียน
- จัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ
- กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๒๕ คน
- ระยะเวลาจัดอบรม จำนวน ๑ วัน มีการจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ จำนวน ๒๕ คน (๖ ชั่วโมง)
3. จัดให้บริการฝึกทักษะพัฒนาการทางร่างกายและการเคลื่อนไหว
ทุกวันจันทร์-วันเสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.(ยกเว้นมีประกาศหยุดเป็นกรณี)
โดยมีอัตราส่วนผู้ให้บริการ ๑ คน ผู้รับบริการ ๕ คน
3.1 เปิดบริการทุกวันจันทร์-วันเสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.(ยกเว้นมีประกาศหยุดเป็นกรณี) โดยมีอัตราส่วนผู้ให้บริการ ๑ คน ผู้รับบริการ ๕ คน
3.2 มีผู้พิการ จำนวน ๑๙ คน สัปดาห์ละ ๒ วัน
3.3 มีผู้พิการ จำนวน ๖ คน สัปดาห์ละ ๔ วัน
3.4 ผู้พิการรับบริการตามแผนพัฒนาตลอดปี ๒๕๖๕
4. สรุปและประเมินผลโครงการ พร้อมรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
4.1 สรุปรายงานพร้อมสำเนา
4.2 เอกสารแผนพัฒนาผู้พิการและบันทึกการรับบริการ จำนวน ๒๕ คน
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ทำให้ต้องปฏิบัติตามมาตรป้องกันและการแพร่กระจายของโรคโควิด-๑๙ แบ่งกลุ่มฝึก เว้นระยะห่าง ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ วัดอุณหภูมิ และตามประกาศของจังหวัดสตูล
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู
80.00
100.00
100.00
ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล
2
เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
25.00
80.00
100.00
ผู้พิการมีสื่อและกายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสภาพ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
45
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
20
20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
เจ้าหน้าที่ ครู อาสาสมัครพี่เลี้ยงคนพิการ ผู้ดูแ
25
25
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ (2) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ (2) การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแล ผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด – ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ (3) นำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ (4) นำสื่อไปใช้พัฒนาผู้พิการออทิสติก (5) ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
รหัสโครงการ L5300-65-3-2 รหัสสัญญา 25/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
จัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ เพื่อพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
มีสื่อและกายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสภาพผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การผลิดสื่อเองเพื่อฟื้นฟูสภาพผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
เป็นต้นแบบในการผลิตสื่อฟื้นฟูสภาพผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ให้กับผู้ดูแล ผู้ปกครองผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
การใช้สื่อต่าง ๆ มาจัดการอารมณ์ให้สามารถควบคุมอารมณ์ของกลุ่มเป้าหมาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
ใีการเชื่อมโยงประสานงานกันระหว่างครู ผู้ปกครอง ศูนย์ออทิสติก ในการใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฟื้นฟูผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
การใช้ทรัพยากรครู ผู้ปกครอง และผู้ดูแลผู้พิการในการผลิตสื่อ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
ศูนย์ออทิสติก สามารถผลิตสื่อ และอปกรณืฟื้นฟูได้เอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
ผู้ดูแล และผู้ปกครองช่วยครูในการผลิตสื่อต่าง ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-65-3-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมบูรณ์ สุวาหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว ”
ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
นายสมบูรณ์ สุวาหลำ
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-65-3-2 เลขที่ข้อตกลง 25/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองขุด อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ L5300-65-3-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,935.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลคลองขุด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล จัดตั้งขึ้นโดยองค์กรภาคประชาชน ชมรมผู้ปกครองบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ในการส่งเสริมและช่วยเหลือผู้พิการและผู้ดูแลให้เข้าถึงสิทธิและให้ได้มาด้วยสิทธิอันพึงจะได้รับตามกฎหมาย ในทุกด้านรวมถึงการฟื้นฟูและพัฒนาสมรรถภาพผู้พิการตามศักยภาพและความสามารถของแต่ละบุคคล โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาเด็กพิการให้มีพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญาที่เหมาะสมกับวัย ความสามารถและความแตกต่างระหว่างบุคคล เป็นการเตรียมความพร้อมที่จะเรียนรู้และสร้างรากฐานชีวิตให้พัฒนาเด็กไปสู่ความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็นคนดี มีวินัย รวมถึงคุณภาพชีวิตของครอบครัวคนพิการและผู้ดูแลให้ดีขึ้น อยู่ร่วมสังคมอย่างปกติสุข และในปัจจุบันมีเด็กพิเศษอีกไม่น้อยที่ไม่สามารถเข้าถึงบริการต่าง ๆ ของรัฐได้อย่างทั่วถึงในทุกระดับสังคม
จากปัญหาดังกล่าวส่งผลให้ เด็กพิเศษส่วนใหญ่ยังขาดการฟื้นฟูในทุกด้าน ขาดโอกาสในการเรียนรู้สู่สังคมภายนอก อันเนื่องมาจากครอบครัวเด็กพิเศษขาดความกล้าและขาดความมั่นใจในการพาเด็กพิเศษเหล่านั้นออกสู่สังคมภายนอกที่นอกเหนือจากบ้านพักและชุมชนในครอบครัวตัวเอง อีกทั้งสังคมส่วนใหญ่ยังขาดความเข้าใจและขาดการยอมรับเด็กพิเศษเท่าที่ควร ซึ่งส่งผลให้เด็กพิเศษเหล่านั้นไม่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูในด้านต่าง ๆ อย่างเหมาะสมกับช่วงวัยของเขาแต่ละบุคคล มีปัญหาในด้านสุขภาพ เพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน รวมทั้งขาดกระบวนการเรียนรู้ในการเข้าสู่สังคม ประกอบกับความยากลำบากด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด - ๑๙ ทำให้เข้ารับบริการไม่ได้ ดังนั้นครอบครัวจึงมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือผู้พิการ เพื่อพัฒนาหรือรักษาทักษะให้คงอยู่กับผู้พิการ โดยการได้รับความช่วยเหลือสนับสนุนในด้านต่างๆ ทั้งความรู้ ทักษะวิธีการ เทคนิคการสอนจากสื่อต่างๆ ควบคู่กับการฝึกทักษะง่ายๆในชีวิตประจำวันตามความสามารถเฉพาะบุคคล
ดังนั้น ศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูล ตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของเด็กพิเศษ จึงริเริ่ม“โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว” ขึ้น เพื่อให้ครอบครัวผู้พิการมีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ เทคนิควิธีการสอนจากสื่อต่างๆ ในการพัฒนาทักษะด้านต่างๆของผู้พิการให้ดีขึ้น ตามความสามารถและศักยภาพผู้พิการรายบุคคล
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ
- เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ
- การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแล ผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด – ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ
- นำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ
- นำสื่อไปใช้พัฒนาผู้พิการออทิสติก
- ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 20 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
เจ้าหน้าที่ ครู อาสาสมัครพี่เลี้ยงคนพิการ ผู้ดูแ | 25 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลผลิต
๑. สื่อพัฒนาทักษะทางร่างกายทางสติปัญญาและทางการพูดและภาษา
๑.๑สื่อกายอุปกรณ์ม้าโยกจำนวน๓ตัว
๑.๒สื่อภาพเคลื่อนไหว๙หมวดๆละ๑๐ชิ้นจำนวน๒ชุดรวมเป็น๑๘๐ชิ้น
๑.๓สมุดภาพและแบบฝึกอ่านอย่างละ๕เล่มและแบบฝึกเขียน๓แบบๆละ๑๐เล่มรวมเป็น๔๐เล่ม
๒. ครูอาสาสมัครและผู้ดูแลผู้พิการร้อยละ ๑๐๐มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด- ๑๙และการใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล
ผลลัพธ์
ครูอาสาสมัครและผู้ดูแล มีนำความรู้ที่ได้ปรับใช้ในในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคโควิด – ๑๙และนำสื่อที่ได้รับจัดกิจกรรมพัฒนาผู้พิการตามศักยภาพของผู้พิการทำให้ผู้พิการมีพัฒนาการทางร่างกายและลดพฤติกรรมการเคลื่อนไหวซ้ำๆของข้อต่อส่งผลให้ผู้พิการมีบุคลิกภาพและสุขภาพดีขึ้นเต็มศักยภาพของผู้พิการตามแผนพัฒนาศักยภาพผู้พิการรายบุคคลรวมถึงทักษะการพูดและการใช้ภาษาบอกความต้องการของตนเองให้ผู้อื่นทราบและผู้พิการสามารถดำเนินชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ |
||
วันที่ 7 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำ1.การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ 2.การนำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ 3.ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นสื่อพัฒนาทักษะทางร่างกาย ทางสติปัญญา และทางการพูดและภาษา
๑.๑ สื่อกายอุปกรณ์ม้าโยกจำนวน ๓ ตัว
|
0 | 0 |
2. การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแล ผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด – ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ |
||
วันที่ 15 มีนาคม 2565กิจกรรมที่ทำการจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ (อบรม ๑ วัน) ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล
|
0 | 0 |
3. ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 15:00 น.กิจกรรมที่ทำติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรมรายบุคคล ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นบุคคลออทิสติกได้รับการพัฒนาจากการใช้สื่อ และส่งเสริมศักยยภาพของผู้ดูแลผู้พิการ
|
25 | 0 |
4. นำสื่อไปใช้พัฒนาผู้พิการออทิสติก |
||
วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.กิจกรรมที่ทำนำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้พิการบุคคลออทิสติกได้รับการพัฒนาศักยภาพในการจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำ และสะกดคำ
|
25 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- ประชุมวางแผนการดำเนินงานและเตรียมความพร้อม
1.1 ประชุมทำโครงการและเสนอโครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
1.2 ประชุมชี้แจงแผนงาน และมอบผู้ดำเนินงาน มีการประชุมคณะกรรมการศูนย์บริการคนพิการบุคคลออทิสติกจังหวัดสตูลเพื่อแบ่งงานตามแผนการที่วางไว้
1.3 ดำเนินการจัดทำและผลิตสื่อ -สื่อกายอุปกรณ์ ม้าโยก -สื่อภาพเคลื่อนไหวสไลด์ -สื่อสมุดภาพแบบฝึกอ่าน -สื่อสมุดภาพแบบฝึกเขียน -สื่อกายอุปกรณ์ ม้าโยก -สื่อภาพเคลื่อนไหวสไลด์ -สื่อสมุดภาพแบบฝึกอ่าน -สื่อสมุดภาพแบบฝึกเขียน - จัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ
- กลุ่มเป้าหมาย จำนวน ๒๕ คน
- ระยะเวลาจัดอบรม จำนวน ๑ วัน มีการจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ จำนวน ๒๕ คน (๖ ชั่วโมง)
3. จัดให้บริการฝึกทักษะพัฒนาการทางร่างกายและการเคลื่อนไหว
ทุกวันจันทร์-วันเสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.(ยกเว้นมีประกาศหยุดเป็นกรณี)
โดยมีอัตราส่วนผู้ให้บริการ ๑ คน ผู้รับบริการ ๕ คน
3.1 เปิดบริการทุกวันจันทร์-วันเสาร์ เวลา ๐๙.๐๐ – ๑๕.๐๐ น.(ยกเว้นมีประกาศหยุดเป็นกรณี) โดยมีอัตราส่วนผู้ให้บริการ ๑ คน ผู้รับบริการ ๕ คน
3.2 มีผู้พิการ จำนวน ๑๙ คน สัปดาห์ละ ๒ วัน
3.3 มีผู้พิการ จำนวน ๖ คน สัปดาห์ละ ๔ วัน
3.4 ผู้พิการรับบริการตามแผนพัฒนาตลอดปี ๒๕๖๕
4. สรุปและประเมินผลโครงการ พร้อมรายงานผลต่อกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลคลองขุด
4.1 สรุปรายงานพร้อมสำเนา
4.2 เอกสารแผนพัฒนาผู้พิการและบันทึกการรับบริการ จำนวน ๒๕ คน
ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) ทำให้ต้องปฏิบัติตามมาตรป้องกันและการแพร่กระจายของโรคโควิด-๑๙ แบ่งกลุ่มฝึก เว้นระยะห่าง ใส่หน้ากากอนามัย ล้างมือ วัดอุณหภูมิ และตามประกาศของจังหวัดสตูล
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟู |
80.00 | 100.00 | 100.00 | ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแลผู้พิการ ร้อยละ ๑๐๐ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด - ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล |
2 | เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนพิการที่ได้รับกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต |
25.00 | 80.00 | 100.00 | ผู้พิการมีสื่อและกายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสภาพ |
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 45 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | 20 | 20 | |
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
เจ้าหน้าที่ ครู อาสาสมัครพี่เลี้ยงคนพิการ ผู้ดูแ | 25 | 25 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงบริการฟื้นฟูสมรรภาพ (2) เพื่อเพิ่มคนพิการที่เข้าถึงกายอุปกรณ์ที่จำเป็นต่อการดำเนินชีวิต
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การจัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ การพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ (2) การจัดอบรม ครู อาสาสมัคร และผู้ดูแล ผู้พิการ มีความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด – ๑๙ และการใช้สื่ออุปกรณ์ พัฒนาผู้พิการตามศักยภาพรายบุคคล เพื่อนำไปฝึกผู้พิการ (3) นำสื่อไปใช้กับผู้พิการ เพื่อจัดกิจกรรมการฝึกอ่านภาพ อ่านคำและสะกดคำ (4) นำสื่อไปใช้พัฒนาผู้พิการออทิสติก (5) ติดตามความก้าวหน้าในการใช้สื่อ ปรับปรุง แก้ไข การจัดกิจกรรม
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
รหัสโครงการ L5300-65-3-2 รหัสสัญญา 25/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่
จัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ เพื่อพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่
มีสื่อและกายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสภาพผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่
การผลิดสื่อเองเพื่อฟื้นฟูสภาพผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่
เป็นต้นแบบในการผลิตสื่อฟื้นฟูสภาพผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
99. อื่นๆ
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล
ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ให้กับผู้ดูแล ผู้ปกครองผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การบริโภค
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด
การใช้สื่อต่าง ๆ มาจัดการอารมณ์ให้สามารถควบคุมอารมณ์ของกลุ่มเป้าหมาย
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
9. อื่นๆ
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. อื่นๆ
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ
5. เกิดกระบวนการชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)
ใีการเชื่อมโยงประสานงานกันระหว่างครู ผู้ปกครอง ศูนย์ออทิสติก ในการใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฟื้นฟูผู้พิการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน
การใช้ทรัพยากรครู ผู้ปกครอง และผู้ดูแลผู้พิการในการผลิตสื่อ และอุปกรณ์ต่าง ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
7. อื่นๆ
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน
ศูนย์ออทิสติก สามารถผลิตสื่อ และอปกรณืฟื้นฟูได้เอง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล
ผู้ดูแล และผู้ปกครองช่วยครูในการผลิตสื่อต่าง ๆ
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น ผลที่เกิดขึ้น รายละเอียด/การจัดการ หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง แนวทางการพัฒนาต่อ ใช่ ไม่ใช่
6. อื่นๆ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว
รหัสโครงการ L5300-65-3-2 รหัสสัญญา 25/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565
แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้
- ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
- การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
- การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
- ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
- กระบวนการชุมชน
- มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
---|---|---|---|---|---|
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่ | จัดทำและผลิตสื่ออุปกรณ์ เพื่อพัฒนาทักษะในด้านต่างๆของผู้พิการ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่ | มีสื่อและกายอุปกรณ์ในการฟื้นฟูสภาพผู้พิการ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. กระบวนการใหม่ | การผลิดสื่อเองเพื่อฟื้นฟูสภาพผู้พิการ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่ | เป็นต้นแบบในการผลิตสื่อฟื้นฟูสภาพผู้พิการ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
99. อื่นๆ |
|
|
|
||
2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล | ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ให้กับผู้ดูแล ผู้ปกครองผู้พิการ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การบริโภค |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การออกกำลังกาย |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด | การใช้สื่อต่าง ๆ มาจัดการอารมณ์ให้สามารถควบคุมอารมณ์ของกลุ่มเป้าหมาย |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
9. อื่นๆ |
|
|
|
||
3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ) |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. อื่นๆ |
|
|
|
||
4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. มีธรรมนูญของชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ |
|
|
|
||
5. เกิดกระบวนการชุมชน |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน) | ใีการเชื่อมโยงประสานงานกันระหว่างครู ผู้ปกครอง ศูนย์ออทิสติก ในการใช้สื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ในการฟื้นฟูผู้พิการ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน) |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน | การใช้ทรัพยากรครู ผู้ปกครอง และผู้ดูแลผู้พิการในการผลิตสื่อ และอุปกรณ์ต่าง ๆ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
7. อื่นๆ |
|
|
|
||
6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ |
|||||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน | ศูนย์ออทิสติก สามารถผลิตสื่อ และอปกรณืฟื้นฟูได้เอง |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล | ผู้ดูแล และผู้ปกครองช่วยครูในการผลิตสื่อต่าง ๆ |
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา |
|
|
|
||
คุณค่าที่เกิดขึ้น ประเด็น | ผลที่เกิดขึ้น | รายละเอียด/การจัดการ | หลักฐาน/แหล่งอ้างอิง | แนวทางการพัฒนาต่อ | |
ใช่ | ไม่ใช่ | ||||
6. อื่นๆ |
|
|
|
||
โครงการส่งเสริมความรู้ พัฒนาทักษะและสุขภาพ สำหรับผู้พิการและครอบครัว จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ L5300-65-3-2
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมบูรณ์ สุวาหลำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......