กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผดุงมาตร ”

ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายฮาริซ ลีมิง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผดุงมาตร

ที่อยู่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2477-3-01 เลขที่ข้อตกลง 17/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผดุงมาตร จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผดุงมาตร



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผดุงมาตร " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลผดุงมาตร อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65-L2477-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,875.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ผดุงมาตร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 43 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไปซึ่งมีปัจจัยร่วมหลายอย่างนอกเหนือไปจากเชื้อโรคในช่องปากแล้วการอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการเอาใจใส่สุขภาพช่องปากอาจมาจากตัวบุคคลเองขาดความรู้ความเข้าใจใเรื่องของการดูแลรักษาสุขภาพช่องปากนอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบันสภาพเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมต่างๆล้วนมีส่วนที่ทำให้เกิดโรคได้เช่่นกันเป้าหมายทันตสุขภาาพระยะยาวของเประเทศไทยระบุได้ว่างคนไทยมีสุขภาพช่องปากบดเคียวได้อยู่ในสังคมอย่างปกติสุขทุกช่วงวัยของชีวิตการที่จะบรรลุเป้าหมายระยะยาวได้น้้ันจะต้องเริ่มตั้งแต่วัยเด็กหรือเริ่มต้ั้งแต่ระยะฟันน้ำนมเร่ิ่มขึ้นการมีสุขภาพช่องปากที่ดีสัมพันธ์กับสุขภาพร่างกายการดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพที่ดีด้วยแต่ปัญหาสุขภาพในช่องปากนั้นไม่เกิดจากสาเหตุภายใน่ช่องปากเพียงอย่างเดียวแต่มีตัวปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วยยกตัวอย่างเช่นฟันได้รับการดูแลรักษาอย่างดีตั้งแต่วัยเด็กเมืื่อถึงวัยผู้ใหญ่ไม่มีปัญหาด้านสุขภาพปากและฟันสามารถใช้งานได้ครบทั้งปากไม่มีโรคในช่องปากและไม่มีความเจ็บปวดในช่องปากดังน้ันการว่างรากฐานเรื่องสุขภาพช่องปากแก่เด็กต้ังแต่ช่องก่อนวัยเรียนในรูปแบบที่ถูกต้องและให้ตระหนักถึงความสำคัญในการดูแลสุขภาพปากและฟันอาจทำให้ปัญหาสุขภาพช่องปกน้ันลดน้อยลงโดยเฉพาะเด็กสามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุขและมีสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนเด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองที่สามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี
  2. เพื่อลดการเกิดปัญหาภายในช่องปากของเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองในเรื่องการแปรงฟันที่ถูกต้อง
  2. อบรมต่อ และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ครู,ผู้ดูแลเด็ก 4
พ่อ,แม่,ผู้ปกครอง 43

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองสามารถแปรงฟันได้ ถูกวิธี
  2. ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก มีความรู้และวิธีการป้องกันเกี่ยวกับปัญหาภายในช่องปาก
  3. ส่่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กให้ถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้แก่เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองในเรื่องการแปรงฟันที่ถูกต้อง

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดอบรมให้ความรู้แก่เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองในเรื่องของการแปรงฟันที่ถูกต้อง 2.ให้ความรู้เรื่องการแปรงฟัน 7 ข้ันตอนที่ถูกวิธี 3.ให้ความรู้เรื่องการดูแลรักษาช่องปาก 4.ให้ความรู้เรื่องอาหารการกินและการใช้ชีวิตประจำวัน 5.ติดตามและประเมินผลจากการอบรมในรอบปีที่ผ่านมา

งบประมาณ 1.ค่าป้ายโครงการขนาด 1.0 เมตรX 3.0 เมตรจำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน690 บาท 2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 47 ชุดๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน1,175 บาท 3.ค่าอาหารกลางวันพร้อมน้ำดื่ม จำนวน 47 คนๆ ละ 50 บาทเป็นเงิน 2,350 บาท 4. ค่าวิทยากรบรรยายจำนวน 1 คนๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน1,200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองสามารถแปรงฟันได้ ถูกวิธี

 

0 0

2. อบรมต่อ และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

วันที่ 9 สิงหาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ให้ความรู้สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี 2. ให้ความรู้กับเด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองพร้อมปฎิิบัติวิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง

งบประมาณ1. ค่าวิทยากรบรรยายและปฎิบัติ จำนวน 1 คนๆ ละ 2 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน1,200 บาท 2. ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 90 ชุดๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 2,250 บาท 3.ค่าอุปกรณ์การในฝึกปฎิบัติประกอบด้วย 3.1. ค่าแปรงฟันจำนวน 43 ด้ามๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน 1,075 บาท 3.2. ค่ายาสีฟันสำหรับเด็ก ขนาด 80 กรัม จำนวน 43 หลอดๆ ละ 25 บาทเป็นเงิน1,075 บาท 3.3 ค่าแก้วน้ำ จำนวน 43 ใบๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 860 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ก ผู้ดูแลเด็กและผู้ปกครองรู้วิธีการแปรงฟันที่ถูกต้อง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนเด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองที่สามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี
ตัวชี้วัด : เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองสามารถแปรงฟัน 7 ข้ันตอนอย่างถูกวิธี
90.00 90.00

 

2 เพื่อลดการเกิดปัญหาภายในช่องปากของเด็ก
ตัวชี้วัด : เด็กที่ได้รับการดูแลเกี่ยวกับปัญหาภายในช่องปาก
43.00 43.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 43 43
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ครู,ผู้ดูแลเด็ก 4
พ่อ,แม่,ผู้ปกครอง 43

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนเด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองที่สามารถแปรงฟันได้ถูกวิธี (2) เพื่อลดการเกิดปัญหาภายในช่องปากของเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่เด็ก ผู้ดูแลเด็ก และผู้ปกครองในเรื่องการแปรงฟันที่ถูกต้อง (2) อบรมต่อ และสาธิตวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กผดุงมาตร จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65-L2477-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายฮาริซ ลีมิง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด