กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลูกเสนาปลอดภัย ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน ”
จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางกนกอร ช่วยพิชัย




ชื่อโครงการ โครงการลูกเสนาปลอดภัย ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L7257-2-09 เลขที่ข้อตกลง 22/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกเสนาปลอดภัย ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกเสนาปลอดภัย ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกเสนาปลอดภัย ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L7257-2-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,050.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองคอหงส์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นักเรียน คือหัวใจของการจัดการศึกษา โรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพยกอุปถัมภ์)มีความตระหนักในความสำคัญ และเล็งเห็นความจำเป็นเร่งด่วนที่จะต้องร่วมกันดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้เรียนรู้อย่างมีความสุข เป็นไปตามหลักสูตร มีทักษะชีวิตที่จะดูแลตนเอง ให้ปลอดภัยท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม อุบัติเหตุ และอุบัติภัย ที่จะก่อให้เกิดความเสียหายแก่นักเรียน และนักเรียนมักใช้เวลาว่างส่วนใหญ่ประกอบกิจกรรมต่างๆ ภายในโรงเรียน ประกอบกับเด็กอยู่ในวัยซุกซน หากสภาพแวดล้อมในโรงเรียนไม่ปลอดภัย จะยิ่งเพิ่มความเสียงต่อการเกิดอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิดได้ เพื่อป้องกันอุบัติภัยที่มักเกิดในโรงเรียน ซึ่งเป็นหน้าที่ของทุกคนที่เกี่ยวข้อง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู ต้องให้ความสำคัญร่วมกันตรวจสอบและปรับปรุงแก้ไขจุดเสี่ยง จุดอันตรายหมั่นตรวจสอบสภาพวัสดุอุปกรณ์ และสิ่งของเครื่องใช้ภายในโรงเรียนด้วยว่าชำรุดเสียหายหรือไม่ หากชำรุดให้รีบซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพดีอย่างเร่งด่วน ทางโรงเรียนเสนาณรงค์วิทยา(กองทัพบกอุปถัมภ์) จึงได้ทำโครงการการป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียนขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติภัย รวมถึงเด็กนักเรียนต้องรู้จักการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ เพื่อร่วมกันสร้างสภาพแวดล้อมที่น่าอยู่ให้กับโรงเรียนที่เป็นที่อบรมสั่งสอนให้เด็กเป็นคนดีและเติบโตเป็นกำลังทรัพยากรสำคัญของประเทศต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร มารยาทในการขับขี่และรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน
  2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีป้องกันอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นและเรียนรู้วิธีการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่ให้ความปลอดภัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ป้ายจราจรและชีวีปลอดภัยใส่ใจจราจร

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 230
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎจราจร มารยาทในการใช้รถใช้ถนน
  2. ร้อยละ 90 ของนักเรียนรู้จักป้องกันอุบัติภัยต่าง ๆ ในโรงเรียน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้ป้ายจราจรและชีวีปลอดภัยใส่ใจจราจร

วันที่ 8 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • อบรมให้ความรู้เรื่องกฏจราจร มารยาทในการขับขี่ และการรู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • นักเรียนที่เข้าร่วมอบรมมีความรู้เรื่องกฏจราจร มารยาทในการขับขี่ และการรู้จักป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร มารยาทในการขับขี่และรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎจราจร มารยาทในการใช้รถใช้ถนนเพิ่มขึ้น
30.00 90.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีป้องกันอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นและเรียนรู้วิธีการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่ให้ความปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของนักเรียนรู้จักป้องกันอุบัติภัยต่างๆ ในโรงเรียนเพิ่มขึ้น
20.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 230
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 230
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนเกิดความรู้ ความตระหนัก ความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายจราจร มารยาทในการขับขี่และรู้จักวิธีป้องกันตนเองให้ปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน (2) เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีป้องกันอุบัติภัยที่จะเกิดขึ้นและเรียนรู้วิธีการตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ที่ให้ความปลอดภัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ป้ายจราจรและชีวีปลอดภัยใส่ใจจราจร

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลูกเสนาปลอดภัย ป้องกันอุบัติภัยในโรงเรียน จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L7257-2-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกนกอร ช่วยพิชัย )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด