กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. ดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของโครงการ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2565
  2. เงินอุดหนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการ จำนวน 17,123.- บาท
  3. เงินอุดหนุนงบประมาณคงเหลือ จำนวน – บาท คืนมาพร้อมหนังสือนี้
  4. ประโยชน์ที่ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับ

- เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ - เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน - ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ - ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อให้เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ไขให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 72
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 64
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
คณะทำงาน 4
ครู/ผู้ดูแลเด็ก 4

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กนักเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กได้รับการดูแลภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ (2) เพื่อให้เด็กนักเรียนที่มีน้ำหนักและส่วนสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานทุกคนได้รับการแก้ไขให้มีน้ำหนักตามเกณฑ์มาตรฐาน (3) เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ (4) เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถประกอบอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการให้กับเด็กได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โภชนาการในเด็กปฐมวัย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh