กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว


“ หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑ ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอนันต์ รอดเสน

ชื่อโครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5310-2-2 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑



บทคัดย่อ

โครงการ " หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑ " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5310-2-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 44,021.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลเขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์การระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งมีการประกาศกระทรวงสาธารณสุขให้ โรคไวรัสโคโรน่า หรือ COVID-19 เป็นโรคติดต่อร้ายแรง ซึ่งพบการระบาดทุกพื้นที่ทั่วโลกรวมถึงในประเทศไทย ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตจำนวนมาก กระจายไปยังทุกพื้นที่เป็นบริเวณกว้างจนยากที่จะควบคุมได้ ส่งผลกระทบทั้งทางด้านสุขภาพ วิถีชีวิต การประกอบอาชีพ สังคมและเศรษฐกิจ ตัวเชื้อไวรัส COVID-19 มีการพัฒนากลายพันธุ์ตลอดเวลา ผู้ติดเชื้อจะมีอาการไข้สูง จาม ไอ การอักเสบของปอดและเยื้อหุ้มปอดอย่างรุนแรง หรือบางรายอาจไม่แสดงอาการปัจจุบันแม้ว่าจะใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการ เช่น คัดกรองและเฝ้าระวังโรค กักตัวผู้มีความเสี่ยง รักษาระยะห่างระหว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า งดจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมาก ทำความสะอาดสถานที่และพื้นผิวสัมผัส แต่ก็ยังไม่สามารถป้องกันและควบคุมโรคให้หมดไป ๑๐๐ % ได้ หมู่ที่ 1 ต.เขาขาว อ.ละงู จ.สตูล มีประชากรจำนวน 1,133 คน มีจำนวน374 หลังคาเรือน ( ข้อมูลงานทะเบียนราษฎร์อำเภอละงู ณ เดือน กุมภาพันธ์ 2564 ) จากสถานการณ์โรคโควิดตำบลเขาขาว ณ วันที่4 มกราคม 2565 พบว่า ตำบลเขาขาวมีผู้ป่วยยืนยันสระสมตั้งแต่เดือนเมษายน ๒๕๖๔จำนวน 233 ราย (ข้อมูลจากศูนย์บริหารสถานการณ์โควิด 19 อำเภอละงู ณ วันที่ 4 มกราคม 2565 )และมีแนวโน้มการระบาดที่ไม่แน่นอนในอนาคต คณะกรรมการหมู่บ้านหมู่ที่ 1 ต.เขาขาว ได้เล็งเห็นความสำคัญในเรื่องดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เป็นการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน แก้ไขสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ได้รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันและลดการแพร่ระบาดของโรคในในพื้นที่ เพื่อประชาชนในพื้นที่จะได้กลับมาใช้ชีวิตประจำวันเหมือนเดิมและปกติสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
  2. เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน
  2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน
  3. กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน
  4. กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,133
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ 2.ลดปัญหาครัวเรือนได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา
3.อัตราการติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในหมู่บ้านลดลง
4.ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคอย่างรวดเร็ว ทันต่อสถานการณ์ กลับมาประกอบอาชีพตามวิถีชีวิต และใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างปกติสุขต่อไป


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน ในหัวข้อเรื่อง การเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาในหมู่บ้าน ,การพ่นหรือใช้ยาฆ่าเชื้อทำความสะอาดทั่วไป และกรณีมีผู้ป่วยติดเชื้อในครัวเรือน , การใช้ชุด PPE และวัสดุป้องกันการติดเชื้ออื่นๆ , การคัดแยกและการกำจัดขยะติดเชื้อในครัวเรือน/ชุมชน แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ จำนวน 20 คน -ค่าจัดทำป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 500 บาท     -ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ มื้อละ 60 บาท จำนวน 20 คน จำนวน 1 วันเป็นเงิน 1,200 บาท     -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ มื้อละ 25 บาท จำนวน 20 คน จำนวน 1 วันเป็นเงิน 1,000 บาท     -ค่าวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้เข้าร่วมอบรม(เช่น สมุด ปากกา แฟ้มเอกสาร เป็นต้น) คนละ 1 ชุด ชุดละ 50 บาท จำนวน 20 คนเป็นเงิน 1,000 บาท     -ค่าตอบแทนวิทยากรจำนวน 5 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะกรรมการ คณะทำงาน แกนนำเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในหมู่บ้าน มีความรู้ความเข้าใจและทักษะ ในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา เชิงรุกในหมู่บ้าน / ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา และมีอัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านที่ลดลง

 

0 0

2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดป้ายประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน ตามจุดที่เหมาะสมน่าสนใจ จำนวน2จุด     -ค่าจัดทำป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน ขนาด 1.2 X 2.4 เมตร จำนวน 2 ป้าย ป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีสื่อประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน กระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญ / ประชาชนตระหนัก เห็นความสำคัญและให้ความร่วมมือในการเฝ้าระวัง ป้องกันโรค ส่งผลให้อัตราการติดเชื้อในหมู่บ้านลดลง

 

0 0

3. กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดการคัดแยกขยะติดเชื้อในชุมชนให้ถูกต้อง เพื่อนำไปกำจัดอย่างถูกวิธีต่อไป   -จัดซื้อถังขยะติดเชื้อ ขนาด 120 ลิตร จำนวน 1 ถัง ถังละ 1,750 บาทเป็นเงิน 1,750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีถังขยะติดเชื้อประจำหมู่บ้าน / ขยะติดเชื้อได้รับการกำจัดอย่างถูกวิธีลดการแพร่กระจายเชื้อโรคในหมู่บ้านชุมชน

 

0 0

4. กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

พ่นยาฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน เช่น มัสยิด อาคารเอนกประสงค์ เป็นต้น     -ค่าซื้อถังพ้นน้ำยาขนาด 12 ลิตร แบบแบตเตอรี่ จำนวน 2 ถังๆละ 1,500 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท     -ค่าน้ำยาพ้นฆ่าเชื้อ 5 ลิตร/แกลลอน จำนวน 3 แกลลอนๆละ 1,250 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท     -ค่าชุด PPE ชุดละ 200 บาท จำนวน 40 ชุด เป็นเงิน 8,000 บาท       -ค่าเฟชชิว ชิ้นละ 25 บาท จำนวน 30 ชิ้น เป็นเงิน 750 บาท       -เสื้อกันฝน ชุดละ 35 บาท จำนวน 20 ชุด เป็นเงิน 700 บาท         -รองเท้าบูช คู่ละ 280 บาท จำนวน 10 คู่ เป็นเงิน 2,800 บาท         -ค่าหน้ากากอนามัย กล่องละ 100 บาท จำนวน 40 กล่องเป็นเงิน 4,000 บาท           -ค่าถุงมือยาง กล่องละ 250 บาทจำนวน 8 กล่องเป็นเงิน 2,000 บาท           -ค่าถุงเเดงสำหรับใส่ขยะติดเชื้อ แพคละ 69 บาท จำนวน 15 เเพ็ค เป็นเงิน 1,035 บาท           -ค่าถุงดำสำหรับใส่ขยะทั่วไปที่ใช้ในกิจกรรมป้องกันควบคุมโรคแพคละ 59 บาท จำนวน 4 เเพ็ค เป็นเงิน 236 บาท             -ค่าเเอลกอฮอล์ล้างมือ ขนาด 500 มล. จำนวน 40 ขวดขวดละ 120 บาท เป็นเงิน 4,800 บาท             -ค่าสเปรย์แอลกอฮอล์ล้างมือ 100 มล. จำนวน 20 ขวดละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท             -ชุดตรวจ ATK จำนวน 30 ชุด ชุดละ 100 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีวัสดุอุปกรณ์สำหรับการป้องกันควบคุมโรค ประชาชนในหมู่บ้านที่ติดเชื้อและกลุ่มเสี่ยง ได้รับการป้องกันควบคุมโรค / ลดการแพร่กระจายของโรคติดเชื้อในหมู่บ้านไม่ให้กระจายเป็นวงกว้าง

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ทั้งทางกาย จิต สังคม และปัญญาลดลง
100.00 80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1133
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,133
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประชาชนในหมู่บ้านได้รับการดูแล เฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคเชิงรุกในหมู่บ้าน ได้รวดเร็วและทันต่อสถานการณ์ (2) เพื่อให้มีครัวเรือนที่ได้รับผลกระทบทางสุขภาพ ด้านร่างกาย จิต สังคม และปัญญา ลดลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ แก่คณะกรรมการและคณะทำงานของโครงการ เรื่องการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุกในหมู่บ้าน (2) กิจกรรมประชาสัมพันธ์รณรงค์การเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาเชิงรุกในหมู่บ้าน (3) กิจกรรมฆ่าเชื้อในครัวเรือนกรณีมีผู้ติดเชื้อในหมู่บ้าน รวมถึงจุดเสี่ยงอื่นๆในชุมชน (4) กิจกรรมคัดแยกขยะติดเชื้อในหมู่บ้าน/ชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

-

-

-


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑

รหัสโครงการ 65-L5310-2-2 รหัสสัญญา 4/2565 ระยะเวลาโครงการ 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

หมู่บ้าน เฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ เชิงรุก หมู่ที่๑ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5310-2-2

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอนันต์ รอดเสน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด