กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจแม่และลูก แบบบูรณาการ ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นายเอนก กลิ่นรส

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจแม่และลูก แบบบูรณาการ

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3351-01-07 เลขที่ข้อตกลง 13/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจแม่และลูก แบบบูรณาการ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจแม่และลูก แบบบูรณาการ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจแม่และลูก แบบบูรณาการ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2565-L3351-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศให้มีการเจริญเติบโต แข็งแกร่ง ยั่งยืนในทุกด้าน ประการสำคัญมุ่งเน้นการพัฒนาคนเป็นหลัก เพื่อให้ได้คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างมีศักยภาพจะต้องเริ่มต้นตั้งแต่ปฏิสนธิในครรภ์เพราะเด็กเป็นรากฐานที่สำคัญในการพัฒนาให้เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพในอนาคต โดยมารดาและเด็กจะได้รับการดูแลและส่งเสริมสุขภาพตั้งแต่ระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด หลังคลอด เมื่อเกิดแล้วต้องได้รับการเลี้ยงดูที่เหมาะสม เพื่อให้เติบโตสมวัยและเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพต่อไปในอนาคต ปัจจุบัน ข้อมูลอนามัยและเด็ก โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุ่งยาว ยังมีปัญหาหลายอย่างที่ต้องได้รับการแก้ไข เช่น พฤติกรรมการดูแลด้านสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของหญิงตั้งครรภ์ การฝากครรภ์ไม่ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์มาตรฐาน หญิงตั้งครรภ์มารับการฝากครรภ์ครั้งแรกเมื่ออายุครรภ์มากกว่า 12 สัปดาห์ และคลอดที่บ้านผดุงครรภ์โบราณ ซึ่งเป็นปัจจัยที่สำคัญ ที่ก่อให้เกิดภาวะเสี่ยงสูงต่อการทำให้เกิดปัญหาการป่วย และการตายของมารดาจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอดได้ จากการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว ของปีที่ผ่านมา ผลการดำเนินงานดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่มาฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ ร้อยละ 74.17 (เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 70) หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ครั้งแรกครรภ์น้อยกว่า 12 สัปดาห์ ร้อยละ 85.49(เกณฑ์มากกว่าร้อยละ 80) มารดาคลอดที่บ้าน ร้อยละ 1.67 (เกณฑ์น้อยกว่าร้อยละ 5) ซึ่งยังมีบางตัวชี้วัดต่ำกว่าเกณฑ์ จากปัญหางานอนามัยแม่และเด็กดังกล่าวข้างต้น อาจส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยโดยในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปี แรกของชีวิต เป็นระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนวัยเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัยจากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินการขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง และจากการประเมินผลการเฝ้าระวังทางภาวะโภชนาการเด็กก่อนวัยเรียน (0-6 ปี)จะพบว่าพื้นที่เขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว ในช่วงไตรมาสที่ผ่านมา มีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ 20 คนจากเด็กทั้งหมด561คนคิดเป็นร้อยละ 3.56 น้ำหนักค่อนข้างน้อย 10 คนคิดเป็นร้อยละ1.78 รวมเด็ก 2 กลุ่ม 30 คิดเป็นร้อยละ 5.34 ซึ่งตามเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ไม่เกินร้อยละ 7 และในอนาคตมีแนวโน้มว่าจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งถ้าไม่ได้รับการป้องกันและการรักษาหรือหยุดหยุดยั้งโรคก็จะลุกลามนำไปสู่การสูญเสียฟันต่อไปและส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ ปัจจัยที่ทำให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีสภาวะการเกิดโรคฟันผุ โรคปริทันต์อักเสบ หรือโรคในช่องปากเป็นปัญหาค่อนข้างสูง คือการเข้าถึงบริการทันตกรรมไม่ครอบคลุมมากนักการไม่ใส่ใจในการดูแล ป้องกันโรคในช่องปากของตนเองเมื่อเป็นถึงขั้นรุนแรงจึงมาหาหมอเพื่อทำการรักษา จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งยาว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจดูแลแม่และลูกปีงบประมาณ 2565 นี้ขึ้นมาเพื่อแก้ปัญหาให้กับกลุ่มเป้าหมายต่างๆที่กล่าวมา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกอย่างเดียวครบ 6 เดือน ร้อยละ 60
  2. เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลฟันน้ำนมได้ดี ร้อยละ 80
  3. เพื่อส่งเสริมเด็ก อายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 85

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมสตรีวัยเจริญพันธ์ และมารดาเพื่อดูแลเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย
  2. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเพื่อติดตามและประเมินผล
  3. อบรมผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเพ่ื่อการดูแลฟันน้ำนม
  4. เรียนรู้ร่วมกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • เด็กได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนการเลี้งดูด้วยนมแม่อย่างเดยว 6 เดือน ทุกคน
  • เด็กมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85
  • ผู้ปกครองเด็กมีความรู้สามารถดูแลฟันน้ำนมเด็กได้ดี ร้อยละ 80 และเด็กฟันผุลดลง ร้อยละ 50

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเพื่อติดตามและประเมินผล

วันที่ 25 ธันวาคม 2564 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสุงเพื่อติดตามประเมินผลการเปลี่ยนเปลงเป็นช่วงๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เห็นการเปลี่ยนแปลงงจากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงตามจริง ตามช่วงเวลาที่ประเมินผล

 

0 0

2. อบรมผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเพ่ื่อการดูแลฟันน้ำนม

วันที่ 15 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด้กปฐมวัยเพื่อการดูแลฟันน้ำนม ซึ่งฟันนน้ำนม หน้าที่หลักของฟันก้คือ ใช้ในการบดเคี้ยวอาหาร และกว่าที่ลุกน้อยจะมีฟันแท้ขึ้นมาแทนที่จนครบก็ใช้เวลานานหลายปี ดังนั้น ฟันน้ำนมจึงเป็นชุดฟันที่สำคัญสำหรับเด้กมากๆ เพราะถ้าขาดฟันน้ำนมไปก้ย่อมทำให้บดเคี้ยวอาหารได้ไม่เต็มที่ จนอาจจะกลายเป็นปัญหาสุขภาพตามมาได้ เช่น อา่การไม่อยากอาหาร ทำให้เจริญเติบโตไม่เต็มที่ นำไปสู่โรคระบบทางเดินอาหาร เป็นต้น หรือถ้าละเลยมากเข้า ก็อาจเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดฟันผุ คราวนี้ยิ่งแล้วใหญ่ เพราะเด็กๆ จะรู้สึกปวดฟัน ทำให้การใช้ชีวิตประจำวันเต็มไปด้วยเสียงร้องงอแงแทนที่จะได้กิน ดื่มแบบสนุกๆ สมวัยแถมยังต้องคอยไปพบทันตแพทย์เพื่อดูแลฟันให้รู้สึกไม่ดีหรือกลัวหมอฟันไปเลยอีกด้วย จึงต้องมีการอบรมผุ้ปกครองเด็กปฐมวัยเพื่อการดูแลฟันน้ำนม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการตรวจสุขภาพช่องปากเด้กปฐมวัย ในพื้นที่รับผิดชอบของ รพ.สต.บ้านทุ่งยาว พบว่าภาวะสุขภาพช่องปากดีขึ้นกว่าปีที่ผ่านมาปกติ ร้อยละ 51 (ปี 2564 ปกติ ร้อยละ 38)

 

0 0

3. อบรมสตรีวัยเจริญพันธ์ และมารดาเพื่อดูแลเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย

วันที่ 22 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

การอบรมสตรีวัยเจริญพันธ์ และมารดาเพื่อดูแลเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย เป็นการสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาพให้กับหญิงวัยเจริญพันธ์ในเรื่องความสำคัญของการฝากครรภ์ตามเกณฑ์ครบ 3 ครั้ง การดูแลหลังคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ การดูแลเด็ก 0-5 ปี ให้มีการพัฒนาการสมวัย ส่งผลทำให้มารดาและบุตรมีความเสี่ยงต่อสุขภาพอนามัยโดยเด็กในวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา จึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต โดยเฉพาะในระยะ 2 ปีแรกของชีวิต เป็ยระยะที่ร่างกายและสมองมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุดเพื่อส่งเสริมพัฒนาการรอบด้าน อาหารและภาวะโภชนาการที่ดีปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาของเด็กวัยก่อนเรียน ปัญหาทางโภชนาการที่พบบ่อยในเด็กวัยนี้ ได้แก่ ภาวะการเจริญเติบโตไม่สมวัย จากโรคขาดสารอาหารภาวะโภชนาการเกินขาดสารไอโอดีน ภาวะโลหิดจางจากการธาตุเหล็ก โดยมีสาเหตุสำคัญจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูที่ไม่เหมาะสม การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ลดลง การให้อาหารตามวัยแก่เด็กเร็วเกินไปและไม่ถูกต้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การอบรมสตรีวัยเจริญพันธ์ และมารดาเพื่อดูแลเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ส่งผลให้การฝากครรภ์ตามเกณฑ์ครบ 3 ครั้ง การดูแลหลังคลอด 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ครบถ้วนทุกคน การดูแลเด็ก 0-5 ปี ให้มีการพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 98.27 สาเหตุที่ไม่ครบทุกคน เนื่องจากเด็กย้ายตามผู้ปกครองออกนอกพื้นที่

 

0 0

4. เรียนรู้ร่วมกัน

วันที่ 20 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เนื่องจากการระบาดของดควิด 19 ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันได้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เนื่องจากการระบาดของดควิด 19 ไม่สามารถดำเนินกิจกรรมเรียนรู้ร่วมกันได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกอย่างเดียวครบ 6 เดือน ร้อยละ 60
ตัวชี้วัด : การเลี้ยงลูกอย่างเดียวครบ 6 เดือน ร้อยละ 60
10.00 60.00

 

2 เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลฟันน้ำนมได้ดี ร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลฟันน้ำนมได้ดี ร้อยละ 80
50.00 80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมเด็ก อายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 85
ตัวชี้วัด : เด็ก อายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 85
78.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 75
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 15
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกอย่างเดียวครบ 6 เดือน ร้อยละ 60 (2) เพื่อส่งเสริมผู้ปกครองมีความรู้ สามารถดูแลฟันน้ำนมได้ดี ร้อยละ 80 (3) เพื่อส่งเสริมเด็ก อายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ร้อยละ 85

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมสตรีวัยเจริญพันธ์ และมารดาเพื่อดูแลเด็ก อายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (2) ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูงเพื่อติดตามและประเมินผล (3) อบรมผู้ปกครองเด็กปฐมวัยเพ่ื่อการดูแลฟันน้ำนม (4) เรียนรู้ร่วมกัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยใส่ใจแม่และลูก แบบบูรณาการ จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2565-L3351-01-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเอนก กลิ่นรส )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด