ผู้สุงวัยฟันดี ชีวีมีสุข
ชื่อโครงการ | ผู้สุงวัยฟันดี ชีวีมีสุข |
รหัสโครงการ | 60-L5215-1-1.4 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | สถานีอนามัยเขารูปช้าง สาขา 2 |
วันที่อนุมัติ | 15 พฤษภาคม 2560 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 สิงหาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 |
กำหนดวันส่งรายงาน | |
งบประมาณ | 32,200.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางสุวรรณา นิลรัตน์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | 7.154,100.612place |
งวด | วันที่งวดโครงการ | วันที่งวดรายงาน | งบประมาณ (บาท) | |||
---|---|---|---|---|---|---|
จากวันที่ | ถึงวันที่ | จากวันที่ | ถึงวันที่ | |||
1 | 1 ส.ค. 2560 | 31 ส.ค. 2560 | 32,200.00 | |||
รวมงบประมาณ | 32,200.00 |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 90 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ผู้สูงอายุเป็นประชากรของที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นกลุ่มเป้าหมายที่ประสบปัญหาสุขภาพได้อย่างซึ่งรวมถึงสภาพช่องปากที่มีความสัมพันธ์กับการทำงานของระบบบดเคี้ยวส่งผลต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพร่างกายของผู้สูงอายุโดยรวมปัญหาการเปลี่ยนแปลงหรือความรุนแรงของโรคในช่องปากในประชากรกลุ่มนี้จากการสำรวจของกองทันตสาธารณสุขในประเทศไทยปี พ. ศ. 2556 ผู้สูงอายุ 60-70 4 ปีร้อยละ 80 8.3 ในการสูญเสียฟันบางส่วนและร้อยละ 72 สูญเสียฟันทั้งปากและการสูญเสียความยังคงเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตามอายุจนเมื่อ อายุ 80 ถึง 89 ปัจจุบันผู้สูงอายุ 60-70 4 ปีร้อยละ 51.8 มีฟันแท้ใช้งานได้อย่างน้อย 20ซี่เฉลี่ย 18.8 ซี่ต่อคน กลุ่มอายุ 60-69 ปีละร้อยละ 23.5 ที่มีฟันแท้ใช้งานอย่างน้อย 20 ซี่ แม้จำนวนฟันแท้ใช้งานในกลุ่มผู้สูงอายุตอนต้นและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากการตำรวจครั้งก่อนก่อนแต่ฟันแท้ที่เหลืออยู่ปัญหาของโรคและความผิดปกติในช่องปากที่จำเป็นต้องได้รับการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันชะลอความเจ็บปวดและการสูญเสียฟันที่ส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่สำคัญได้แก่หน่วยโรคปริทันต์ซึ่งเสี่ยงต่อการอักเสบปวดบวมฟันโยกฟันผุที่ยังไม่ได้รับการรักษาร้อยละ 4 สุขศึกษาม 3 รากฟันเกิดสัมพันธ์กับเหงือกร่นเวลา 17.2 ซึ่งปัญหาดังกล่าวนอกจากจะเป็นผลจากพฤติกรรมสุขภาพของการทำความสะอาดช่องปากที่พบว่าผู้สูงอายุที่มีการ แปรงฟันก่อนนอนร้อยละ 65.5 ในการใช้อุปกรณ์เสริมการแปรงฟันได้แก่ไหมขัดฟันแปรงซอกฟันร้อยละ 2.7การรักษาเบื้องต้นการถอนฟันการเก็บรักษาการมีความยุ่งยากซับซ้อนหลายขั้นตอนทำให้ผู้สูงอายุไม่สามารถมารับบริการต่อเนื่องได้ทำให้เกิดการสูญเสียความเร็วที่สุดจากการสำรวจสุขภาวะทางช่องปากในชมรมผู้สูงอายุในเขตรับผิดชอบของสถานีอนามัยตำบลเขารูปช้างสาขา 2 พบว่าผู้สูงอายุมีปัญหาสุขภาพช่องปากด้วยโรคปริทันต์ปี 2559 คิดเป็นร้อยละ 60.12ซึ่งการป้องกันและการควบคุมไม่ให้เกิดความผิดปกติหรือรอยโรคในช่องปากเพื่อคงสภาพการใช้งานให้ได้ในเร็วๆนี้เป็นสิ่งจำเป็นที่ต้องให้ความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่าร่วมกันให้บริการรักษาฟื้นฟูสภาพดังนั้นการดูแลสุขภาพช่องปากที่ ถูกต้องเหมาะสม ทั้งโดยตัวผู้สูงอายุเองหรือโดยผู้ดูแลซึ่งเป็นหัวใจสำคัญในการควบคุมป้องกันช่องปากและส่งเสริมการมีสุขภาพร่างกายที่ดีทั้งนี้สถานีอนามัยตำบลเขารูปช้างประชากรได้ดำเนินโครงการผู้สูงวัย capric acid ซึ่งมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้และบริการทันตกรรมผู้สูงอายุที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากของนี้เพื่อให้ผู้สูงอายุและมีความรู้เกี่ยวกับทันตสุขภาพเพิ่มขึ้นและฟันที่แข็งแรงสามารถใช้เพียวได้เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุและนำไปปรับใช้ในการสนับสนุนให้เกิดการดูแลสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุในชีวิตประจำวันอันจะนำไปสู่การลดความรุนแรงของโรคในช่องปากให้ผู้สูงอายุมีสุขภาพช่องปากที่ดีสมวัยสามารถในการใช้งานโดยปราศจากความเจ็บปวดตลอดอายุขัย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี |
---|
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
คงเหลือ (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 3,200.00 | 1 | 32,200.00 | -29,000.00 | |
25 ส.ค. 60 | อบรมให้ความรู้เรื่องสุขภาพช่องปาก | 0 | 3,200.00 | ✔ | 32,200.00 | -29,000.00 | |
รวมทั้งสิ้น | 0 | 3,200.00 | 1 | 32,200.00 | -29,000.00 |
1จัดอบรมให้ทันตสุขศึกษาผู้สูงอายุ
2จัดบริการทันตกรรมของผู้สูงอายุตรวจสุขภาพช่องปากและคู่กรณี
3 ฝึกปฏิบัติการแปรงฟันให้ถูกวิธีในผู้สูงอายุ
4 สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผู้สูงอายุสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถเผยแพร่ความรู้ได้
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ก.ย. 2560 19:17 น.