กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ ยุวชนจิตอาสาเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาคุกคามสุขภาพในวันรุ่น (กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์)
รหัสโครงการ 60-L5215-2-6.2
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาครอบครัวฯ
วันที่อนุมัติ 26 ตุลาคม 2559
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 20 สิงหาคม 2560 - 20 สิงหาคม 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 40,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายนิยม ปังธิกุล
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
ละติจูด-ลองจิจูด 7.154,100.612place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 20 ส.ค. 2560 20 ส.ค. 2560 40,000.00
รวมงบประมาณ 40,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 132 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ยุคไซเบอร์เป็นยุคที่สื่อเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในการช่วยสร้างความสะดวกสบายให้กับชีวิตเป็นยุคที่อุดมไปด้วยสื่อสารสนเทศเช่นโทรทัศน์อินเทอร์เน็ตโทรศัพท์มือถือ CD VDO DVD เกมคอมพิวเตอร์ facebook line ที่ขยับเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของชีวิตประจำวันแต่ทุกวันนี้มีหลักฐานที่ชี้ให้เห็นประจักษ์ถึงผลกระทบต่อสังคมยุคอุดมด้วยสารสนเทศโดยเฉพาะผลที่เกิดขึ้นกับเด็กและเยาวชน  ปัจจุบันการใช้คอมพิวเตอร์ทั้งในด้านการค้นคว้าข้อมูลการติดต่อสื่อสารทางอีเมล์และกิจกรรมบันเทิงเพื่อประโยชน์ให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารรวดเร็วทันสมัยยิ่งขึ้นทำให้พบสัดส่วนของการใช้อินเตอร์เน็ตเพิ่มขึ้นในทุกกลุ่มอายุโดยเฉพาะกลุ่มวัยอายุระหว่าง 15-24 ปีมีสัดส่วนการใช้อินเตอร์เน็ตจากร้อยละ 47.3 ในปีพ.ศ 2552 เป็นร้อยละ 58.4 ในปีพ.ศ 2556 และจากการสำรวจของสำนักส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ของเยาวชนร่วมกับสถาบันวิจัยรามากิตติ พบเด็กไทยร้อยละ 76 ใช้เวลากับเครือข่ายสังคมออนไลน์เช่น facebook LINE WhatsApp บ่อยเป็นประจำร้อยละ 51 เช็คข้อความทางโทรศัพท์มือถือหรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ทันทีที่ตื่นนอนและอีกร้อยละ 40 ด้วยโทรศัพท์หรือเล่นแชทในเครือข่ายสังคมออนไลน์เป็นสิ่งสุดท้ายก่อนนอน  ผลกระทบที่เป็นปัญหาจากการใช้สื่อเทคโนโลยีของเยาวชนในด้านสุขภาพจะทำให้เกิดอาการปวดหลังรับประทานอาหารไม่ตรงเวลาจึงทำให้เป็นโรคกระเพาะพักผ่อนไม่เพียงพอทำให้ร่างกายไม่แข็งแรงด้านพฤติกรรมเด็กที่ชอบใช้ สื่อเทคโนโลยี นักบุณยานนท์ก้าวร้าวมากขึ้นโดยสิ่งที่พ่อแม่ต้องเป็นห่วงมากที่สุดคือ เรื่องระเบียบวินัยความรับผิดชอบการไม่รักษาคำพูดความก้าวร้าวไม่เชื่อฟัง โต้เถียงกับพวกพ่อแม่โกหกขโมยเงิน คนแปลกหน้าที่รู้จักจากการเล่นเกม หนีออกจากบ้าน ด้านการเรียนทำให้ผลการเรียนแย่ลงจากการศึกษาพบว่าเด็กพิเศษเทคโนโลยีและชอบเล่นเกมลื่นไม่สนใจการเรียนหนังสือและทำการบ้านนอนหลับในห้องเรียนซึ่งเป็นผลจากการอดหลับอดนอนนั่งเล่นทั้งคืนบางรายมีอาการเหม่อลอยในห้องเรียนมีแต่พะวงถึงแต่เรื่องเทคโนโลยีจนถึงขั้นหนีเรียนไปเล่น ด้านอารมณ์พบว่าเด็ก เทคโนโลยี แท็กซี่เทคโนโลยีนะคะอารมณ์ไม่คงที่ถ้ามีใครมาขัดใจเสื้อรุ่นสวยๆ และเด็กที่เรื่องสื่อเทคโนโลยีประเภทความรุนแรงจะมีทัศนคติ การใช้ความรุนแรงในการแก้ปัญหาอย่างแท้จริง เรื่องในครอบครัวที่มีเด็กที่เล่นสื่อเทคโนโลยีมากจนขาดความควบคุมตนเองมาตรฐานเป็นการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเด็กและสมาชิกในครอบครัวเกิดความไม่เข้าใจและความขัดแย้งในครอบครัวเนื่องจากพ่อแม่ไม่เข้าใจพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารเทคโนโลยีของเด็กทำให้เกิดปัญหาฝันทะเลาะกันเรื่องจับเวลาในการเทคโนโลยีของเด็กนอกจากนี้เด็กที่สื่อเทคโนโลยีส่วนใหญ่มักจะให้คุยหรือทำกิจกรรมอื่นๆร่วมกับสมาชิกครอบครัวน้อย รวมถึงปฏิเสธที่จะร่วมกิจกรรมกับครอบครัว  ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลเขาช้างร่วมกับสภาเด็กและเยาวชนตำบลเกาะช้างได้เล็งเห็นถึงประเด็นปัญหาดังกล่าวข้างต้นให้เห็นว่าการพัฒนาทักษะเยาวชนในยุคไซเบอร์ในเรื่องการแบ่งเวลา การจัดการกับอารมณ์การจัดการการความคิดวิเคราะห์แยกแยะถูกผิดความรู้จักไว้วางใจบุคคลในครอบครัวและการรู้จักใส่ใจความรู้สึกของผู้อื่นโดยการให้พ่อแม่ผู้ปกครองและเด็กได้ทำกิจกรรมร่วมกันเป็นการป้องกันการเรียนรู้แบบกระบวนการกลุ่ม สร้างทัศนคติและมุมมองใหม่ในการเริ่มต้นการปรับเปลี่ยนตัวเองและพฤติกรรมต่างๆที่ไม่เหมาะสมรวมถึงช่วยเสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัวจะเป็นคำตอบที่ตอบโจทย์การป้องกันปัญหาต่างๆดังกล่าวข้างต้นได้ดีที่สุดจึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการเพื่อธุรกิจการเมืองเขารูปช้างป้องกันและแก้ไขปัญหาภัยคุกคามของชาติวัยรุ่นกิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
คงเหลือ
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 4,000.00 1 40,000.00 -36,000.00
20 ส.ค. 60 กิจกรรมพัฒนาทักษะเยาวชนยุคไซเบอร์ 0 4,000.00 40,000.00 -36,000.00
รวมทั้งสิ้น 0 4,000.00 1 40,000.00 -36,000.00

1.เขียนเสนอโครงการ 2.ประสานติดต่อกลุ่มเป้าหมาย 3.ดำเนินการตามโครงการ 4.สรุปผลการดำเนินงาน

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้ความเข้าใจในทักษะการจัดแบ่งเวลาการจัดการกับอารมณ์ การจัดการความคิดวิเคราะห์แยกแยะถูกผิด การรู้จักไว้วางใจบุคคลในครอบครัวและการรู้จักใส่ใจความรู้สึกคนอื่นที่ส่งผลต่อสัมพันธภาพในครอบครัว 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีแนวทางในการสร้างเสริมสัมพันธ์ที่ดีในครอบครัว

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 30 ก.ย. 2560 20:41 น.