กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายปรีชา จงทอง ตำแหน่ง ประธาน อสม.หมู่ที่ 11 บ้านเจ้าพะ




ชื่อโครงการ โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว

ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1485-2-05 เลขที่ข้อตกลง 4/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1485-2-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สมุนไพร หมายถึง พืชที่ใช้ทำเป็นเครื่องยา สมุนไพรที่กำเนิดมาจากธรรมชาติ และมีความหมายต่อชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะในทางสุขภาพ อันหมายถึง การส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย เป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านดั้งเดิมที่อยู่คู่กับประเทศไทยมาช้านาน แต่เมื่อการแพทย์แผนปัจจุบันเริ่มมามีบทบาทในบ้านเรา ทำให้สรรพคุณและคุณค่าของสมุนไพรไทยอันเป็นสิ่งที่เรียกว่า ภูมิปัญญาไทยโบราณ ก็ถูกบดบังไปเรื่อยๆ และถูกทอดทิ้งไปในที่สุด แต่ความเป็นจริงแล้วคนส่วนใหญ่ก็พอรู้กันบ้างแล้วว่าสมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง และใช้ได้อย่างกว้างขวางแต่เป็นเพราะเราใช้วิธีรักษาโรคแผนปัจจุบันมานานมากจนวิชาการแพทย์แผนโบราณที่มีสมุนไพรเป็นยาหลัก ถูกลืมจนต่อไม่ติด ทำให้คนรุ่นหลังๆ รู้จักสมุนไพรไทยได้น้อยมากแทบจะไม่รู้จักเลยทั้งๆ ที่สมุนไพรเหล่านั้นอยู่ใกล้ๆตัวเรานี้ ปัจจุบันนี้มีการรณรงค์และส่งเสริมให้ใช้ยาสมุนไพรเพิ่มมากขึ้น วงการแพทย์หันมาใช้ยาสมุนไพรควบคู่กับยาแผนปัจจุบันในการรักษา ซึ่งการรู้จักชนิดและประเภทสมุนไพร สรรพคุณ หรือวิธีการใช้สมุนไพรที่มีอยู่แล้วในท้องถิ่นอย่างถูกต้อง ถูกวิธี ถูกกับโรค ในการรักษาเบื้องต้นเพื่อบรรเทาก่อนถึงมือแพทย์หรือการเจ็บป่วยเพียงเล็กน้อย ก็จะทำให้เกิดประโยชน์
หมู่ที่ 11 บ้านเจ้าพะ มีครัวเรือนประมาณ 130 หลังคาเรือน ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบเนินสูง ห่างจากโรงพยาบาลปะเหลียนประมาณ 21 กิโลเมตร เนื่องจากพื้นที่ห่างไกล คนสมัยก่อนจึงมีการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคเบื้องต้นก่อนถึงมือแพทย์ แต่ปัจจุบันคนรุ่นหลังๆมักไม่ค่อยมีความรู้เรื่องสมุนไพรในชุมชน ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 11 จึงได้จัดทำ “โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว”ขึ้น เพื่อส่งเสริมให้คนชุมชนเห็นคุณค่าของสมุนไพรมากขึ้น สามารถนำสมุนไพรแต่ละชนิดมาใช้ได้อย่างถูกต้องและเกิดประโยชน์ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้มีสุขภาพดี มีสมุนไพรใช้ในชุมชนต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนรู้จักสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดและสามารถนำมาใช้ป้องกันโรคในชีวิตประจำวันได้
  2. 2. เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีการใช้สมุนไพรและเลือกใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง
  3. 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ปลูกพืชสมุนไพรและมีสมุนไพรไว้ใช้ในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนรู้จักสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดและสามารถนำมาใช้ป้องกันโรคในชีวิตประจำวันได้
    2. ประชาชนรู้จักวิธีการใช้สมุนไพรและเลือกใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง
    3. ประชาชนได้ปลูกพืชสมุนไพรไว้ใช้ในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนรู้จักสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดและสามารถนำมาใช้ป้องกันโรคในชีวิตประจำวันได้
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    2 2. เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีการใช้สมุนไพรและเลือกใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ปลูกพืชสมุนไพรและมีสมุนไพรไว้ใช้ในชุมชน
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 50
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนรู้จักสรรพคุณของสมุนไพรแต่ละชนิดและสามารถนำมาใช้ป้องกันโรคในชีวิตประจำวันได้ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนรู้จักวิธีการใช้สมุนไพรและเลือกใช้สมุนไพรได้อย่างถูกต้อง (3) 3. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนได้ปลูกพืชสมุนไพรและมีสมุนไพรไว้ใช้ในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการสมุนไพรใกล้บ้านใกล้ตัว จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 65-L1485-2-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายปรีชา จงทอง ตำแหน่ง ประธาน อสม.หมู่ที่ 11 บ้านเจ้าพะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด