โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน
สิงหาคม 2565
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1485-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอับดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่นการสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการบริการป้องกันควบคุมดรคและความดันดลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป้นปัจจัยเสี่ยงหลัง ได้แก่ ภาวะความดันดลหิตสูง การสูบบุหรี่ ปัจจัยรอง ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล การบริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคที่ไม่ติดต่อเหล่นนั้น
จากสถานการณ์ในปี 2564ประชาชนในพื้นที่ตำบลปะเหลียน(บ้านเจ้าพะ)ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อสูงขึ้นและมีป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปีมีป่วยผู้โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 89 คน พบโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 2 คน จากการสำรวจคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปของพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง 2564 จำนวนผู้คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 454 คนพบว่ากลุ่มปกติ จำนวน 345 คนคิดเป็นร้อยละ 75.99 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 75 คนคิดเป็นร้อยละ 15.50 และกลุ่มสงสัยป่วยจำนวน 30 คนคิดเป็นร้อยละ 6.60 และจากการตจัดเก็บข้อมูลพบว่าปัจจัยที่ทำให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสุงไม่สามารถชะลอการป่วยได้คือยังไม่ศรัทธาในการใช้หลัก 3อ 2ส รพ.สต.จึงเห็นว่ากาตั้งปณิธานเพื่อกำหนดตัวเองให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยให้หลัก 3อ 2ส อย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดความสำเร็จมากยิ่งขึ้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะมองเห็นว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปีถ้าประชาชนไม่มีการปรับตัวหรือปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมโดยต้องลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคและจากการสอบถามการสำรวจประชาชนประชาชนจำนวนมากขาดความรู้และขากสิ่งที่เอื้อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงเพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิดพฤติกรรมสุขภาพโดยให้ภูมิรู้อย่างเหมาะสมและมีคู่หูเป็นที่ปรึกษาและเป็นกำลังใจให้แก่กันและกันเพื่อให้เกิดกิจกรรมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกิจกรรม 3อ 2ส เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดัน ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง
2.อัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงลดลง
3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืนร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกิจกรรม 3อ 2ส เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดัน ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
20
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกิจกรรม 3อ 2ส เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดัน ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ”
ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ
สิงหาคม 2565
ที่อยู่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-17 เลขที่ข้อตกลง 16/2565
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเหลียน อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1485-1-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเหลียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเช่นโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบางโรคเป็นสาเหตุการตายอับดับต้นและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มและมีความรุ่นแรงเพิ่มมากขึ้นทุกปี ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่มาจากสุขภาพที่ไม่ถูกต้องของประชาชน เช่นการสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วนและไม่เหมาะสมทางโภชนาการ ขาดการออกกำลังกายและมีความเครียดจากครอบครัวและสังคม จากการศึกษาแนวปฏิบัติการบริการป้องกันควบคุมดรคและความดันดลหิตสูงพบว่าปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคที่เป้นปัจจัยเสี่ยงหลัง ได้แก่ ภาวะความดันดลหิตสูง การสูบบุหรี่ ปัจจัยรอง ได้แก่ ภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ขาดการเคลื่อนไหว การออกกำลังกาย การบริโภคอาหารที่ไม่สมดุล การบริโภคอาหารที่เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งรับประทานผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ รวมทั้งประชาชนมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องและไม่ตระหนักถึงความรุนแรงของโรคที่ไม่ติดต่อเหล่นนั้น จากสถานการณ์ในปี 2564ประชาชนในพื้นที่ตำบลปะเหลียน(บ้านเจ้าพะ)ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อสูงขึ้นและมีป่วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปีมีป่วยผู้โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 89 คน พบโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ 2 คน จากการสำรวจคัดกรองประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปของพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง 2564 จำนวนผู้คัดกรองโรคความดันโลหิตสูง 454 คนพบว่ากลุ่มปกติ จำนวน 345 คนคิดเป็นร้อยละ 75.99 กลุ่มเสี่ยง จำนวน 75 คนคิดเป็นร้อยละ 15.50 และกลุ่มสงสัยป่วยจำนวน 30 คนคิดเป็นร้อยละ 6.60 และจากการตจัดเก็บข้อมูลพบว่าปัจจัยที่ทำให้กลุ่มเสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสุงไม่สามารถชะลอการป่วยได้คือยังไม่ศรัทธาในการใช้หลัก 3อ 2ส รพ.สต.จึงเห็นว่ากาตั้งปณิธานเพื่อกำหนดตัวเองให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโดยให้หลัก 3อ 2ส อย่างต่อเนื่องจะทำให้เกิดความสำเร็จมากยิ่งขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะมองเห็นว่าการเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นทุกปีถ้าประชาชนไม่มีการปรับตัวหรือปรับพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมโดยต้องลดปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรคและจากการสอบถามการสำรวจประชาชนประชาชนจำนวนมากขาดความรู้และขากสิ่งที่เอื้อให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเจ้าพะจึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงเพื่อปรับเปลี่ยนแนวคิดพฤติกรรมสุขภาพโดยให้ภูมิรู้อย่างเหมาะสมและมีคู่หูเป็นที่ปรึกษาและเป็นกำลังใจให้แก่กันและกันเพื่อให้เกิดกิจกรรมในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกิจกรรม 3อ 2ส เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดัน ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
- เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีแนวทางในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง 2.อัตราการเกิดผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ในกลุ่มเสี่ยงลดลง 3.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่ถูกต้องในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงและภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืนร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกิจกรรม 3อ 2ส เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดัน ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 20 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 20 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ด้วยกิจกรรม 3อ 2ส เพื่อป้องกันโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงความดัน ลดอัตราการเกิดโรคความดันโลหิตสูง (3) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการสามารถลดปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงได้
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ 2ส ในกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 65-L1485-1-17
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส.สูตินุช เพชรหิน ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......