กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ


“ คัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนาตยา อดิศัยนิกร

ชื่อโครงการ คัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65L7487218 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 9 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"คัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
คัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " คัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเจ๊ะเห อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 65L7487218 ระยะเวลาการดำเนินงาน 9 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,880.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองตากใบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ วันที่ 26 มีนาคม 2563 และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยายประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่        ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง วันที่ 30 กันยายน 2564 และในปี 2564 เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม 2564      เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่ 11/2564 เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน    พ.ศ. 2548 ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ 26 มีนาคม พ.ศ.2563 และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคบใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ 13 จนถึงวันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2564 นั้น   ดังนั้น เพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาดและเพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและ การป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพ อ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงในกลุ่มโรคเช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือด หัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาด เสี่ยงสูงหรือผู้สัมผัส โดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขจึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกันตามหลัก New normal และ DMHTT อย่างเข้มงวด เพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ   ในการนี้โรงเรียนบ้านตาบา ตระหนักถึงสถานการณ์ดังกล่าว และคำนึงถึงความปลอดภัยและสุขภาพของนักเรียน ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษาและผู้ปกครอง จึงจัดทำโครงการคัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565 ตามแนวทางปฏิบัติสำหรับสถานศึกษาเพื่อป้องกันแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 โดยการใช้ชุดอุปกรณ์ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อดำเนินการเชิงรุกในการคัดกรองและเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ติดเชื้อในโรงเรียนได้ครอบคลุมมากขึ้น รองรับการเปิดเรียนแบบ On Site ตลอดจนประสานงานร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ในการเข้าช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยติดเชื้อที่พบจากผลการตรวจเชิงรุกในสถานศึกษา เพื่อให้โรงเรียนบ้านตาบา เป็นพื้นที่ที่ปลอดภัย ปลอดโรค สำหรับทุกคน (Covid Free Zone)

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อให้โรงเรียนบ้านตาบา มีชุดตรวจ ATK รองรับการตรวจเชิงรุกในช่วงการเปิดเรียนแบบ On Site อย่างเพียงพอ/ร้อยละ100 ๒.เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการและนักเรียนโรงเรียนบ้านตาบา ได้รับการตรวจคัดกรองโรคด้วยชุดตรวจ ATK อย่างครอบคลุม/ร้อยละ100

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. จัดซื้อชุดตรวจ ATK และ ตรวจคัดกรอง ATK ให้กับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน
  2. จัดซื้อชุดตรวจ ATK และตรวจคัดกรอง ATK ให้กับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 580
กลุ่มวัยทำงาน 87
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. โรงเรียนบ้านตาบามีชุดตรวจ ATK รองรับการตรวจเชิงรุกในช่วงการเปิดเรียนในรูปแบบ On-site อย่างเพียงพอ
  2. คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนโรงเรียน ได้รับการตรวจคัดกรองด้วยชุดตรวจ ATK อย่างครอบคลุม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้โรงเรียนบ้านตาบา มีชุดตรวจ ATK รองรับการตรวจเชิงรุกในช่วงการเปิดเรียนแบบ On Site อย่างเพียงพอ/ร้อยละ100 ๒.เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการและนักเรียนโรงเรียนบ้านตาบา ได้รับการตรวจคัดกรองโรคด้วยชุดตรวจ ATK อย่างครอบคลุม/ร้อยละ100
ตัวชี้วัด : - นักเรียน 10% จำนวน 580 คน - ครูและบุคลากรทางการศึกษา 10% จำนวน 57 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 637 คน
0.10

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 667
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 580
กลุ่มวัยทำงาน 87
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้โรงเรียนบ้านตาบา มีชุดตรวจ ATK รองรับการตรวจเชิงรุกในช่วงการเปิดเรียนแบบ On Site อย่างเพียงพอ/ร้อยละ100     ๒.เพื่อให้คณะครู บุคลากรทางการและนักเรียนโรงเรียนบ้านตาบา ได้รับการตรวจคัดกรองโรคด้วยชุดตรวจ ATK อย่างครอบคลุม/ร้อยละ100

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดซื้อชุดตรวจ ATK และ ตรวจคัดกรอง ATK ให้กับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน (2) จัดซื้อชุดตรวจ ATK และตรวจคัดกรอง ATK ให้กับนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


คัดกรองความเสี่ยงโรคโควิด-19 กลุ่มนักเรียนและครูด้วย ATK โรงเรียนบ้านตาบา ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 65L7487218

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนาตยา อดิศัยนิกร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด