กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู


“ โครงการ ครอบครัวสุขสันต์ ตั้งครรภ์คุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางจิรภา พูลเทพพ

ชื่อโครงการ โครงการ ครอบครัวสุขสันต์ ตั้งครรภ์คุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 01/2/2561 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 12 มีนาคม 2561 ถึง 31 มีนาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ครอบครัวสุขสันต์ ตั้งครรภ์คุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ครอบครัวสุขสันต์ ตั้งครรภ์คุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ครอบครัวสุขสันต์ ตั้งครรภ์คุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 01/2/2561 ระยะเวลาการดำเนินงาน 12 มีนาคม 2561 - 31 มีนาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 61,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันในภาคเศรษฐกิจและสังคมสมัยใหม่ แนวโน้มโครงสร้างครอบครัวของคนไทยมีลักษณะเป็นครอบครัวเดี่ยวเพิ่มขึ้น แตกต่างจากอดีตที่ผู้หญิงจะได้รับคำแนะนำ คำปรึกษาจากพ่อแม่ที่อยู่ในครอบครัวเดียวกันในการปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ การเตรียมตัวคลอด การปฏิบัติตัวหลังคลอด ตลอดจนการอบรมสั่งสอนการเลี้ยงดูเด็ก และช่วยเหลือเลี้ยงดูเมื่อพ่อแม่ไปทำงานนอกบ้านโดยแม่เป็นผู้เลี้ยงดูหลักที่บ้าน แต่ในปัจจุบันการแยกเป็นครอบครัวเดี่ยวทำให้แม่ขาดโอกาสในการได้รับรู้จากญาติผู้ใหญ่ การเรียนรู้จึงเป็นการศึกษาหาข้อมูลด้วยตนเอง หรือสอบถามจากเพื่อนบ้าน ซึ่งความรู้บางสิ่งถูกต้อง บางสิ่งไม่ถูกต้อง ดังนั้นการได้รับความรู้จากบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขจึงมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยเหลือให้พ่อ- แม่สามารถดูแลตนเองและลูกได้อย่างมีคุณภาพต่อไป


อย่างไรก็ตามในช่วงที่ผ่านมา แผนกฝากครรภ์โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภูได้ปรับกลยุทธ์การดำเนินงานให้เหมาะสมกับพื้นที่ เช่นการพัฒนาคลินิกบริการฝากครรภ์ให้ได้ตามมาตรฐานส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ที่มีคุณภาพมีการปฏิบัติตนได้ถูกต้องระหว่างตั้งครรภ์ ให้หญิงตั้งครรภ์และสามีส่วนใหญ่ยังมีความรู้ที่ไม่ถูกต้องในการดูแลหรือปฏิบัติตนขณะตั้งครรภ์ ไม่เห็นความสำคัญของการมาฝากครรภ์ตามนัดทำให้มาฝากครรภ์ล่าช้าหลัง ๑๒ สัปดาห์ ไม่ครบตามเกณฑ์คุณภาพการรับประทานยาเม็ดวิตามินเสริมธาตุเหล็กที่ไม่สม่ำเสมอและการรับประทานอาหารที่ไม่ครบหมวดหมู่และไม่ได้สัดส่วนทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดปัญหาภาวะโลหิตจางก่อนการตั้งครรภ์ขณะตั้งครรภ์จนถึงหน้าห้องคลอดส่งผลให้ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า ๒๕๐๐กรัม และการคลอดที่บ้านโดย ผดุงครรภ์โบราณ (ผดบ.)ประจำหมู่บ้านทำให้เด็กไม่ได้รับการตรวจร่างกายและรับการฉีดวัคซีนป้องกันโรค ซึ่งจะมีผลต่อการเจริญเติบโตของเด็กต่อไปทั้งทางด้าน ร่างกาย จิตใจ และสติปัญญาของเด็กต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อพัฒนาศักยภาพแม่อาสาให้มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้
  2. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อลดภาวะเสี่ยง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. อสม.และผดบ.สามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้ร้อยละ ๘๐

    ๒. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์มากกว่าร้อยละ ๘๐

    ๓. หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางได้ไม่เกินร้อยละ๑๐

    ๔. หญิงตั้งครรภ์คลอดในสถานบริการ ส่งผลให้ลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๕


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อพัฒนาศักยภาพแม่อาสาให้มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้
    ตัวชี้วัด : แม่อาสามีพัฒนาศักยภาพ มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้
    0.00

     

    2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม
    0.00

     

    3 เพื่อลดภาวะเสี่ยง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก
    ตัวชี้วัด : ภาวะเสี่ยง และภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก ลดลง
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อพัฒนาศักยภาพแม่อาสาให้มีความรู้สามารถดูแลสุขภาพหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบได้ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ที่อยู่กินกับสามี และคู่สมรสใหม่ได้เตรียมความพร้อมกับบทบาทตนเองได้อย่างเหมาะสม (3) เพื่อลดภาวะเสี่ยง และป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดกับหญิงตั้งครรภ์และลูก

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ ครอบครัวสุขสันต์ ตั้งครรภ์คุณภาพ ประจำปีงบประมาณ 2561 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 01/2/2561

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางจิรภา พูลเทพพ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด