กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในหมู่บ้านควน ปีงบประมาณ 2565 ”

จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายสุกรี กาลีโลน ประธานคณะทำงานจัดการขยะมูลฝอยชุมชนบ้านควน หมู่ที่ 5

ชื่อโครงการ โครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในหมู่บ้านควน ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5307-2-07 เลขที่ข้อตกลง 27/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในหมู่บ้านควน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในหมู่บ้านควน ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในหมู่บ้านควน ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 65-L5307-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,210.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ขยะมูลฝอยหรือของเสีย แบ่งเป็น มูลฝอยธรรมดาทั่วไป ได้แก่ มูลฝอยสด เศษอาหาร กระดาษ โฟม พลาสติก ขวดแก้ว โลหะ ฯลฯ และของเสียอันตราย ได้แก่ มูลฝอยติดเชื้อจากโรงพยาบาล กากสารเคมี สารเคมีกำจัดแมลง กากน้ำมัน หลอดฟลูออเรสเซนต์ แบตเตอรี่ใช้แล้ว แหล่งกำเนิดของเสียที่สำคัญ ได้แก่ ชุมชน โรงงานอุตสาหกรรมและพื้นที่เกษตรกรรม ปริมาณขยะมูลฝอยดังกล่าว ส่งผลให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ขยะที่เกิดขึ้นทำให้เกิดปริมาณมูลฝอยตกค้าง ตามสถานที่ต่างๆ หรือมีการนำไปกำจัดโดยวิธีกองบนพื้น ทิ้งตามใกล้แม่น้ำลำคลอง ซึ่งไม่ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม ได้แก่ อากาศเสีย น้ำเสีย ขยะมูลฝอยที่ตกค้างบนพื้น จะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนู แมลงสาบ แมลงวัน และยุง เป็นพาหะนำโรคติดต่อ ทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน รวมถึงเกิดเหตุรำคาญและความไม่น่าดู จากการเก็บขยะมูลฝอยไม่หมด ทำให้เกิดกลิ่นเหม็นรบกวน ซึ่งการจัดการมูลฝอยเป็นไปแบบไม่ถูกสุขลักษณะจะทำให้ให้ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพที่เกิดขึ้นจากองค์ประกอบของมูลฝอย ทั้งลักษณะทางกายภาพและชีวภาพ สารเคมีอันตราย ปริมาณฝุ่นละออง เชื้อโรคต่างๆ เช่น ไวรัส แบคทรีเรีย ที่ปนเปื้อนในมูลฝอยหรือกระบวนการขั้นตอนในการจัดการมูลฝอยทั้งหมดล้วนเป็น สาเหตุสำคัญที่อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ดังนี้ 1. โรคระบบทางเดินหายใจ ได้แก่ โรคภูมิแพ้ โรคปอดอักเสบเรื้อรัง หลอดลมอักเสบ 2.โรคระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ อุจจาระร่วง 3.โรคผิวหนัง ได้แก่ โรคติดเชื้อ โรคติดเชื้อทางผิวหนัง ภูมิแพ้ทางผิวหนัง อาการคันต่างๆ 4. โรคติดเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส เชื้อรา ได้แก่ ไวรัสตับอักเสบ โรคเอดส์ และบาดทะยัค เป็นต้น ในการแก้ปัญหาให้ได้ผลระยะยาวนั้น เราต้องเริ่มจากจุดเล็กๆก่อนด้วยการปลูกฝังจิตสำนึกที่ดีในเรื่องการจัดการขยะมูลฝอยในครัวเรือน ก่อน จัดกิจกรรมให้สมาชิกในครัวได้เห็นความสำคัญและประโยชน์ของการคัดแยกขยะแล้วก็สามารถขยายผลไปยังภาพรวมของชุมชนต่อไปโดยหวังว่า การลดขยะตกค้างในชุมชน จะช่วยทำให้หมู่บ้านสะอาด เป็นระเบียบเรียบร้อยลดแหล่งเพาะพันธ์โรคในชุมชน และไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ คณะทำงานจัดการขยะมูลฝอยชุมชนบ้านควน จึง จัดทำโครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในชุมชนบ้านควน ขึ้น เพื่อประชาชนในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะและเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ โดยใช้หลัก 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ
  2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ โดยใช้หลัก 3RS คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
  2. ตลาดจัดการขยะเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี
  3. สร้างแรงจูงใจในการกำจัดขยะและของเสียอันตรายให้ถูกวิธี
  4. อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทาง ตามหลักการ 3Rs

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 150
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะเพิ่มขึ้น 2.ประชาชนในพื้นที่มีการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ โดยใช้หลัก 3Rs คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่เพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

 

0 0

2. ตลาดจัดการขยะเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี

วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมตลาดนัดจัดการขยะเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี รับบริจาคขยะอันตรายในชุมชน นำขยะรีไซเคิลแลกไข่ไก่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน  26 คน ครัวเรือน สามารถคัดแยกขยะมากขึ้น

 

0 0

3. สร้างแรงจูงใจในการกำจัดขยะและของเสียอันตรายให้ถูกวิธี

วันที่ 24 กรกฎาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สร้างแรงจูงใจในการกำจัดขยะและของเสียอันตรายให้ถูกวิธี โดยวิธีการนำน้ำมันพืชเก่าแลกน้ำมันใหม่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมจำนวนมาก

 

0 0

4. อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทาง ตามหลักการ 3Rs

วันที่ 22 สิงหาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทาง โดยวิทยากร จากเจ้าหน้าที่กองสาธารณสุขฯ กลุ่มเป้าหมาย  จำนวน 150 คน จำนวน  5 ครั้งๆละ 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ชาวบ้านในพื้นที่ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ
ตัวชี้วัด : แกนนำจัดการขยะมูลฝอยและประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะและปรับสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ ร้อยละ 80
50.00 80.00 85.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ โดยใช้หลัก 3RS คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีการคัดแยกขยะในครัวเรือน ร้อยละ 80
50.00 80.00 85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 150 150
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะและสภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะ (2) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีการนำขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ โดยใช้หลัก 3RS คือ การใช้น้อย ใช้ซ้ำ และนำกลับมาใช้ใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ลดการใช้วัสดุที่ไม่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (2) ตลาดจัดการขยะเพื่อสร้างสุขภาวะที่ดี (3) สร้างแรงจูงใจในการกำจัดขยะและของเสียอันตรายให้ถูกวิธี (4) อบรมให้ความรู้ เรื่องการคัดแยกขยะมูลฝอยจากต้นทาง ตามหลักการ 3Rs

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการจัดการขยะครัวเรือน ลดโรค ลดเสี่ยง ในหมู่บ้านควน ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5307-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสุกรี กาลีโลน ประธานคณะทำงานจัดการขยะมูลฝอยชุมชนบ้านควน หมู่ที่ 5 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด