กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัส ประจำปี 2561
รหัสโครงการ 61-L2504-4-01
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 4 สนับสนุนการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ สำนักงานเลขาฯกองทุน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัส
วันที่อนุมัติ 2 ตุลาคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 2 ตุลาคม 2560 - 30 กันยายน 2561
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 115,100.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายเดช ว่องไว
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงมัส อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.311,101.724place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานการบริหารจัดการกองทุนสุขภาพตำบล
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 22 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

กองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่นับเป็นนวัตกรรมที่สำคัญในระบบสุขภาพของประเทศไทยในการส่งเสริมการมีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของประชาชนจากหลายภาคส่วนในสังคม โดยมีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นกลไกสำคัญในการประสานหน่วยงาน องค์กรและภาคีเครือข่ายในพื้นที่เข้าร่วมค้นหาปัญหาและความต้องการของประชาชน ร่วมวางแผนและส่งเสริมให้เกิดการร่วมดำเนินกิจกรรมด้านสุขภาพ โดยสามารถติดตามประเมินผลการดำเนินงานให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรมกับประชาชน นอกจากมีเจตนารมณ์ในการสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังสนับสนุนให้ประชาชนได้แสดงบทบาทในการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ และส่งเสริมให้บุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ได้แสดงบทบาทในการสนับสนุนประชาชนในการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งนี้ยังส่งเสริมให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องเกิดความตระหนักต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สามารถดูแลสุขภาพได้ด้วยตนเองและการสร้างกลไกในสังคมที่จะต้องเข้ามาร่วมกันแก้ปัญหาต่างๆ ที่มีผลต่อสุขภาพให้ลุล่วง สำหรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในบทบัญญัติของพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาติพ.ศ.2545มาตรา13 (1)มาตรา 18 (4) (8) (9)และมาตรา47ได้กำหนดให้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพสนับสนุนประสานและกำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้แก่บุคคลในพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุนรวมถึงการสนับสนุนและกำหนดหลักเกณฑ์ให้องค์กรชุมชนองค์กรเอกชนและภาคเอกชนที่ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อแสวงหากำไรดำเนินงานและบริหารจัดการเงินทุนในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ได้ตามความพร้อมความเหมาะสมและความต้องการโดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้บุคคลในพื้นที่ การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพให้แก่ประชาชนในพื้นที่ในรูปแบบกองทุนสุขภาพท้องถิ่นโดยมีคณะกรรมการประกอบด้วยตัวแทนภาพประชาชนบุคลากรทางสาธารณสุขและบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการโดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณส่วนหนึ่งจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติและท้องถิ่นสมทบอีกส่วนหนึ่งเป็นวิธีการอีกรูปแบบหนึ่งที่ทำให้ผู้นำท้องถิ่นและประชาชนได้ตระหนักถึงการมีส่วนร่วมที่จะสร้างเสริมสุขภาพของคนให้มีความสมบูรณ์แข็งแรงในด้านกายใจสังคมและปัญญา เพื่อให้การดำเนินงานของกองทุนฯมีประสิทธิภาพบรรลุตามวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาระดับพื้นที่กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสจึงได้จัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม “โครงการพัฒนาศักยภาพกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสประจำปี 2561” เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกองทุนให้มีประสิทธิภาพ ต่อไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพิจารณาอนุมัติแผนงาน โครงการ/กิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุน

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
2 เพื่อพิจารณาออกระเบียบที่จำเป็นเพื่อประสิทธิภาพในการบริหารกองทุน

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
3 เพื่อควบคุมและกำกับดูแลการรับเงิน การจ่ายเงิน การเก็บรักษาเงินและการจัดทำบัญชีเงินหรือทรัพย์สินในกองทุนหลักประสุขภาพ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติกำหนด

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
4 เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบการจัดทำสรุปผลการดำเนินงาน รายงานการรับจ่ายและเงินคงเหลือของกองทุนหลักประกันสุขภาพ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
5 เพื่อจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษาและคณะอนุกรรมการ กองทุนฯ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
6 เพื่อพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการหรือที่ปรึกษาและคณะอนุกรรมการกองทุนในการบริหารงานกองทุนให้มีประสิทธิภาพ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัสมีการขับเคลื่อนและดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
7 เพื่อจัดซื้อวัสดุที่จำเป็นมาใช้งานของกองทุนฯ

กองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลตันหยงมัส มีการดำเนินงานในงานต่างๆของ กองทุนร้อยละ 90 %

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
2 ต.ค. 60 - 27 ก.ย. 61 ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 3/2561 17 6,800.00 -
2 ต.ค. 60 - 28 ก.ย. 61 ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งที่ 1/2561 5 1,500.00 1,500.00
2 ต.ค. 60 - 28 ก.ย. 61 ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 1/2561 17 6,800.00 4,800.00
8 - 10 มี.ค. 61 เข้าร่วมประชุมซักซ้อมความเข้าใจแนวปฏิบัติในการบริหารจัดการและการการเบิกจ่ายงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กองทุนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงได้ และการเบิกเงินสวัสดิการค่ารักษาพยาบาล 1 4,144.00 4,144.00
27 ก.ย. 61 ประชุมคณะอนุกรรมการครั้งที่ 2/2561 5 1,500.00 -
28 ก.ย. 61 ประชุมคณะกรรมการครั้งที่ 2/2561 17 6,800.00 -
รวม 62 27,544.00 3 10,444.00

ขั้นตอนการวางแผน -ร่วมกันประชุมวางแผนกำหนดร่างวาระในการประชุมจำนวนคณะกรรมหรือที่ปรึกษาการและคณะอนุกรรมการ -กำหนดวันประชุมตลอดปีงบประมาณ ขั้นตอนการดำเนินงาน -ติต่อประสานงานกับคณะกรรมการเพื่อกำหนดนัดหมาย -จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ประกอบการดำเนินงาน -จัดเตรียมค่าใช้จ่ายในการประชุมเช่นค่าตอบแทนคณะกรรมการหรือที่ปรึกษาอนุกรรมการค่าอาหารกลางวัน ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ดำเนินการจัดประชุมตามแผนงานและวาระที่กำหนด -จัดประชุมคณะกรรมการและที่ปรึกษาอย่างน้อย8ครั้ง/ปี -จัดประชุมคณะอนุกรรมการอย่างน้อย8ครั้ง/ปี -สรุปผลการประชุมและมติคณะกรรมการคณะอนุกรรมการ

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  • สามารถจ่ายค่าตอบแทนการประชุมคณะกรรมการหรือที่ปรึกษากองทุนฯ และคณะอนุกรรมการ
  • สามารถพัฒนาบริหารจัดการงานกองทุนฯ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 5 ต.ค. 2560 10:43 น.