กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล


“ โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน ”

จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางภัทราพรหนูปักขิณ

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน

ที่อยู่ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2.21 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 18 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2.21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 กุมภาพันธ์ 2565 - 18 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การจัดกิจกรรมออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมให้ร่างกายแข็งแรงและจิตใจเบิกบาน โดยเฉพาะการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬา จะสร้างความเพลิดเพลินและทำให้ออกกำลังกายมีการต่อเนื่อง โดยเฉพาะการออกกำลังกายด้วยการเล่นกีฬาที่หลากหลายเป็นที่สนใจของเด็กนักเรียนอย่างมาก ดังนั้น โรงเรียนอนุบาลศรีนครินทร์ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการเล่นกีฬาเพื่อสร้างสุขภาพที่ดีและเป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถทำให้นักเรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และเป็นการสร้างสุขภาวะทางร่างกาย ของนักเรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัย มีความรู้ด้านการเล่นกีฬาที่ถูกต้อง อันเป็นการป้องกันการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาได้อีกด้วย จึงจัดทำโครงการ กีฬาสร้างสุขภาพ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย
  2. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจ
  3. ชี้แจงโครงการแก่นักเรียนและสำรวจข้อมูลกิจกรรมทางกายของนักเรียน
  4. คัดเลือกเด็กเพื่อเป็นแกนนำ
  5. ประชุมสรุป/ประเมินผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอเพิ่มขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.สำรวจพฤติกรรมการเคลื่อนไหวของนักเรียน

2.จัดหาอุปกรณ์กีฬาแต่ละประเภทประกอบด้วย 1)ลูกฟุตบอล จำนวน 5 ลูก ราคาลูกละ 400 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 2)ลูกฟุตซอล จำนวน 5 ลูก ราคา 400 บาท เป็น เป็นเงิน 2,000 บาท 3)ลูกวอลเล่บอล จำนวน 2 ลูก ราคา 800 บาท เป็นเงิน 1,600 บาท 4)ไม้แบตมินตัน 6 ไม้ ราคาไม้ละ 300 บาท เป็นเงิน 1800 บาท 5)ลูกแบตมินตัน 1 กล่อง กล่องละ 200 บาท

3.จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพและการเล่นกีฬาตามความสนใจ วันละอย่างน้อย 60 นาที 1)กิจกรรมเก็ยขยะก่อนเข้าแถว 10 นาที 2)กิจกรรมการเคลื่อนไหวเข้าจังหวะประกอบเพลง 10 นาที 3)กิจกรรมเล่นกีฬาตามความสนใจของนักเรียน 40 นาที 4.ให้นักเรียนสมัครเข้าร่วมโครงการ ก้าวท้าใจ ของกระทรวงสาธารณสุขเพื่อบันทึกสถิติการเคลื่อไหวร่างกายในแต่ละวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ 2.นักเรียนเกิดการพัฒนาความสามารถจากการเข้าร่วมกิจกรรม

 

0 0

2. จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจ

วันที่ 15 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

1.ชี้แจงโครงการแก่นักเรียนหน้าเสาธง 2.สำรวจพฤติกรรมการขยับกายของนักเรียน โดยมอบหมายครูประจำชั้นและหัวหน้าชั้นรวบรวมข้อมูลจากเด็กนักเรียนทุกคน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ข้อมูลกิจกรรมทางกายของนักเรียน เพียงพอกี่คนและไม่เพียงพอกี่คน ไม่มีกิจกรรมทางกายกี่คน

 

0 0

3. คัดเลือกเด็กเพื่อเป็นแกนนำ

วันที่ 15 สิงหาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

จัดประชุมผู้อำนวยการ ครูประจำชั้นและนักเรียนหัวหน้าชั้น เพื่อคัดเลือกเด็กที่มีความสามารถทักษะทางด้านกีฬา นำไปสู่การแข่งขันตัวแทนของโณงเรียน งบประมาณ -ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท/คน X 12 คน เป็นเงิน 300 บาท -ค่าจัดทำเกียรติบัตร เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลผลิต ผู้เข้าร่วมประชุมจำนวน25คน ผลลัพธ์ ได้เด็กนักเรียนที่เป็นแกนนำ

 

0 0

4. ประชุมสรุป/ประเมินผลโครงการ

วันที่ 16 กันยายน 2565

กิจกรรมที่ทำ

คณะทำงานจัดประชุมเพื่อมาสรุปผลและประเมินโครงการ -ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ 25 บาท/คน X 12 คน เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ข้อมูลเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
20.83 100.00

 

2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีกิจกรรมการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
0.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 48
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 48
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น (2) เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมเคลื่อนไหวร่างกาย (2) จัดประชุมคณะทำงานเพื่อสร้างความเข้าใจ (3) ชี้แจงโครงการแก่นักเรียนและสำรวจข้อมูลกิจกรรมทางกายของนักเรียน (4) คัดเลือกเด็กเพื่อเป็นแกนนำ (5) ประชุมสรุป/ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการเคลื่อนไหวร่างกายให้เด็กและเยาวชน จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2.21

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภัทราพรหนูปักขิณ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด