กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการอบรมเยาวชนร่วมใจห่างไกลอบายมุข ปี 2565
รหัสโครงการ 65-L3012–02-03
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมตาดีกา
วันที่อนุมัติ 17 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 25 มีนาคม 2565 - 30 มิถุนายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 29 กรกฎาคม 2565
งบประมาณ 30,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมูฮามัดอดานัน หะยีหามะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลตันหยงลุโละ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสิ่งเสพติด
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

ระบุ

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

การเปลี่ยนแปลงตามกระแสการพัฒนาของโลกที่เน้นด้านเศรษฐกิจวัตถุนิยมและบริโภคนิยม ส่งผลกระทบต่อสังคมและวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของเด็กและเยาวชน สภาพเศรษฐกิจที่รัดตัวกดดันทำให้พ่อแม่ต้องทำงานหนัก ไม่มีเวลาเลี้ยงดูลูก หรือเลี้ยงดูในแบบที่ไม่เหมาะสมส่งผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพของเด็กและเยาวชน การปรับตัวเข้ากับสังคมหรือสิ่งแวดล้อมประกอบกับสื่อที่มีอิทธิพลอย่างกว้างขวางที่มิได้สำนึกถึงผลที่ตามมาจากการเผยแพร่ข่าวสารข้อมูลที่กระตุ้น ยั่วยุ และ/หรือส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนกลายเป็นนักบริโภคแฟชั่น ก่อให้เกิดปัญหาเด็กติดเกมส์ การเสพยาเสพติด การเล่นการพนัน เป็นต้นโรงเรียนตาดีกา มีหน้าที่ดูแลให้การสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนในชุมชนได้มีการศึกษาและเรียนรู้ เรื่องอบายมุขต่างๆ จึงได้จัดโครงการอบรมเยาวชนร่วมใจห่างไกลอบายมุข ปี2565 ขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มกิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด และอบายมุขด้านการป้องกัน

กิจกรรมที่ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมยาเสพติด และอบายมุขด้านการป้องกัน เพิ่มขึ้นเป็น(กิจกรรม)

0.00
2 เพื่อเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติด อบายมุข ในชุมชน

กำลังคนและเครือข่ายเพื่อการเฝ้าระวังยาเสพติด อบายมุข ในชุมชน เพิ่มขึ้นเป็น(คน)

0.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
ลำดับกิจกรรมหลักงบประมาณมี.ค. 65เม.ย. 65พ.ค. 65มิ.ย. 65
1 ประชุมชี้แจง/สรุปประเมินรายงาน โครงการแก่คณะทำงาน(25 มี.ค. 2565-30 มิ.ย. 2565) 300.00        
2 จัดอบรมให้ความรู้ แก่เยาวชน(1 พ.ค. 2565-5 พ.ค. 2565) 22,200.00        
3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ครอบครัวต้นแบบ(27 มิ.ย. 2565-27 มิ.ย. 2565) 7,500.00        
รวม 30,000.00
1 ประชุมชี้แจง/สรุปประเมินรายงาน โครงการแก่คณะทำงาน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 300.00 0 0.00
25 มี.ค. 65 ประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะทำงาน 0 150.00 -
30 มิ.ย. 65 คณะทำงานสรุปประเมิน/รายงานผลโครงการ 0 150.00 -
2 จัดอบรมให้ความรู้ แก่เยาวชน กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 22,200.00 0 0.00
1 - 5 พ.ค. 65 จัดอบรม สร้างความสัมพันธ์และไว้วางใจ แก่เยาวชนกลุ่มเป้าหมาย และร่วมรณรงค์ทำความสะอาดตามสถานที่สำคัญในชุมชน จำนวน 120 คน 3 รุ่นๆละ 40 คน สถานการณ์ปัญหาอบายมุข ทักษะต่างๆที่ใช้ในการปฏิเสธ การสังเกตเมื่อคนในครอบครัวติดอบายมุข การเพิ่มกำลังคนและเครือข่ายเพ 0 22,200.00 -
3 จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ครอบครัวต้นแบบ กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรมย่อย 0 7,500.00 0 0.00
27 มิ.ย. 65 จัดเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ครอบครัวต้นแบบในชุมชน เพื่อสร้างคุณค่า 0 7,500.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เยาวชนมีประสบการณ์ตรงในการเรียนรู้ปัญหาที่เกิดจากอบายมุขปัญหาชีวิต ปัญหาสุขภาพ เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันปัญหาอันอาจจะเกิดขึ้นได้กับตนเองและคนรอบข้าง
  2. มีเครือข่ายแกนนำเยาวชน ห่างไกลอบายมุขและขยายผลการต่อเนื่องไปยังเยาวชนในตำบลตันหยงลุโละ
  3. เยาวชน ได้เรียนรู้ถึงความสำคัญของปัญหาอบายมุข
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 ก.พ. 2565 11:02 น.