กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการโรงเรียนปลอดขยะ
รหัสโครงการ 65-L3066-02-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านเกาะหม้อแกง
วันที่อนุมัติ 15 กุมภาพันธ์ 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายมะหะดี พิทักษ์สุขสันต์
พี่เลี้ยงโครงการ นางสาวนูรียะ กะจิ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลท่ากำชำ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 18 พ.ค. 2565 18 พ.ค. 2565 20,000.00
รวมงบประมาณ 20,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 110 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มวัยทำงาน 115 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มวัยทำงาน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่รุนแรงมากขึ้นทุกวันนี้ ส่วนหนึ่งมาจาก ขยะขึ่งเป็นปัญหาพื้นฐานของชุมชนและโรงเรียนบ้านเกาะหม้อแกง หมู่ที่ 6 ตำบลท่ากาช อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมภายในขุมชนและโรงเรียน อาทิเช่น เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรคเช่นแมลงวันแมลงสาบ ยุง ฯลฯ เป็นแพร่กระจายเชื้อโรคมีกลิ่นเหม็นก่อให้เกิดรำคาญทำลายสุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อมเกิดสภาพไม่น่าดูลกปรกน่ารังเกียจ ขยะทำให้น้ำเสียความสกปรกสูงมากเกิดกลิ่นรบกวนเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของนักเรียนและประชาชน พระราชบัญญัติการสาธารณสุขให้ความหมายว่าขยะมูลฝ่อยคือเศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสินค้าถุงพลาสติก ภาชนะใส่อาหาร มูลสัตว์หรือชากสัตว์รวมถึงสิ่งอื่นสิ่งใดที่เก็บกวาดจากถนนตลาดที่เลี้ยงสัตว์หรือที่อื่นๆ องค์การอนามัย (World Health Organization: WHO) ได้ให้ความหมายแก่ขยะมูลฝอยไว้ว่าคือสิ่งของจากบ้านเรือนที่ประชาชนไม่ต้องการแล้ว มีผู้นำไปใช้ประโยชน์จนสุดท้ายไม่มีผู้นำไปใช้ประโยชน์ได้แล้วและถูกทิ้งให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไปกำจัดเก็บและขนว่งนั่นหมายความว่าสิ่งของที่เราทิ้งจากที่บ้านถ้ายังมีคนนำไปใช้ประโยชน์ต่อได้สิ่งนั้นก็จะยังไม่ใข่ขยะจากความหมายดังกล่าวได้รับการตอกย้ำด้วยแนวคิดที่เห็นคุณค่าจากขยะดังเช่น "พอเพียง" enough" "ขยะคือทรัพยากร" การใช้ทรัพยากรอย่างพอดีเห็นคุณค่าบวกกับการใช้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับวัสดุเหลือใช้ที่มีรอบบ้านเป็นแนวทางหนึ่งในการแก้ปัญหาขยะ นอกจากนี้สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการได้จัดทำผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของประเทศ(พ.ศ.2559-2564) ตามนโยบายของรัฐบาลในการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึก และรณรงค์การจัดการคัดแยกขยะ ประเภทธยะมูลฝอยที่ต้นทางให้แก่นักเรียนและเยาวชนในโรงเรียนและสถานศึกษาทุกแห่งในสังกัดและจากที่สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปัตตานี เขต 1 โรงเรียนบ้านเกาะหม้อแกงทั้งสิ้น 110 คน ผู้บริหาร คณะครูและบุคลากรทางการศึกษา 15 คน ผู้ปกครองนักเรียน 100 คน รวมทั้งสิ้น 225 คน เปิดทำการสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล 1 ถึงขั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ังขาดความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะ รวมทั้งต้องการให้ทุกคนตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องดังกล่าว จึงจัดทำการโครงการ "โรงเรียนปลอดขยะ" ขึ้น ทั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปลูกจิตสำนึกการลดคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ไนโรงเรียนการรวบรวมขยะเพื่อส่งไปกำจัดอย่างถูกต้องสร้างระบบการเรียนรู้ผ่านกิจกรรมต่างๆขึ้น

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรและนักเรียนเกิดความตระหนักในเรื่องขยะสามารถแยกขยะมูลฝอยได้

ครูผู้สอนร้อยละ 100 ได้รู้ถึงพฤติกรรมของนักเรียนเป็นรายบุคคล และผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการรักสิ่งแวดล้อมและนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์มีทักษะในการดำรงชีวิต และที่มีคุณภาพที่ดี

100.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 225 20,000.00 1 20,000.00
1 ม.ค. 65 - 30 ก.ย. 65 โครงการโรงเรียนปลอดขยะ 225 20,000.00 20,000.00

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.นักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา ตระหนักถึงความสำคัญของการลดการการคัดแยกขยะและการนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 22 ก.พ. 2565 11:24 น.