กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2565 โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุชญา บุญสิริธนา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านคลองท่าแตง

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2565 โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-01 เลขที่ข้อตกลง 01/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 พฤษภาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2565 โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2565 โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2565 โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง " ดำเนินการในพื้นที่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-2-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 16 พฤษภาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,385.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสำคัญทางด้านสาธารณสุขเเละเป็นปัญหาซึ่งปัจจุบันมีเเนวโน้มของการเกิดโรคสูงขึ้น ในอดีตที่ผ่านมา กลุ่มผู้ป่วยส่วนใหญ่ประมาณร้อยละ 70-75 เป็นผู้ป่วยในกลุ่มอายุ 5-14 ปี ซึ่งเป็นกลุ่มเด็กวัยเรียนเเละการเกิดโรคมักจะระบาดในช่วงฤดูผนสำหรับสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในจังหวัดสงขลา นับตั้งเเต่วันที่ 1 ม.ค.-25 มี.ค. 2564 จ.สงขลา มีผู้ป่วยรวม 1543 ราย เสียชีวิต 6 ราย โดยจังหวัดสงขลามีอัตราป่วยสูงสุดของประเทศไทย (ณ วันที่ 11 มี.ค. 2554) ส่วนอำเภอที่มีอัตราป่วยโรคไข้เลือดออกสูง 5 อันดับเเรกของจังหวัดสงขลา ได้เเก่ อำเภอหาดใหญ่, นาหม่อม, สะเดา, เมือง เเละ จะนะ ตามลำดับ กลุ่มอายุที่พบผู้ป่วยสูงสุดคือกลุ่มอายุ 10-14 ปี ร้อยละ 23.3 รองลงมาเป็นกลุ่มอายุ 5-9 ปี ร้อยละ 18.34 เเละกลุ่มอายุ 15-19 ปี ร้อยละ 16.33 ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนเเละนักศึกษา ถึงร้อยละ 62.47 โดยในปีนี้พบผู้ป่วยในกลุ่มเด็กโตเเละผู้ใหญ่มากขึ้น จึงขอให้เด็กโตเเละผู้ใหญ่เพิ่มความระมัดระวังเเละป้องกันไข้เลือดออกด้วย โดยเฉพาะการป้องกันยุงกัดให้มากขึ้นในระยะนี้พร้อมๆกับการร่วมทำลายลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ มาตรการการควบคุมโรคที่ได้ผลในขณะนี้ยังคงเป็นมาตรการการควบคุมยุงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการยากที่จะอาศัยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขของรัฐเพียงฝ่ายเดียว ดังนั้นการที่จะให้ได้ผลอย่างเต็มที่จึงต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของประชาชนทุกครัวเรือนร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เเละผู้นำชุมชนช่วยกันป้องกันโรคดังกล่าวในหลากหลายรูปเเบบ เช่น การรณรงค์ การร่วมมือกับโรงเรียน ชุมชน สถานที่ราชการต่างๆ การจัดหาสารกำจัดลูกน้ำ การพ่นหมอกควันเเละสารเคมี การกำจัดเเหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การใช้วิธีทางธรรมชาติในการกำจัดลูกน้ำ เเละสำคัญที่สุดคือการรู้จักป้องกันตนเองไม่ให้ถูกยุงกัด เเต่ในปัจจุบันพบว่าสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออก ยังทวีความรุนเเรงเเละมีผู้ป่วยมากข้น ซึ่งจำเป็นต้องทำการควบคุมป้องกันเเละรณรงค์เพื่อให้สถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกกลับอยู่ในสภาวะที่ไม่รุนเเรง เเละเพื่อเป็นการป้องกันอย่างต่อเนื่อง จากเหตุการณ์ดังกล่าวบุคลากรโรงเรียนบ้านคลองท่าแตง อ.สิงหนคร จ. สงขลา จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นเพื่อควบคุมเเละป้องกัน โรคไข้เลือดออกล่วงหน้าเเละทันท่วงทีที่เกิดโรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองท่าแตงมีความรู้ เเละมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางเเผนดำเนินงาน
  2. กิจกรรม Big cleaning day
  3. ประเมินความรู้ก่อนการอบรม
  4. อบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  5. กิจกรรม ถาม-ตอบ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก
  6. สอนทำสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง
  7. เดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก
  8. ประเมินหลังการอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 7
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ในเขตโรงเรียนบ้านคลองท่าแแตง มีการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก รวมทั้งกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่อง 2.นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองท่าแแตง ด้รับความรู้จากการให้สุขศึกษา/ประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกและสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้อย่างถูกต้อง 3.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของนักเรียนโรงเรียนบ้านคลองท่าแแตงลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางเเผนดำเนินงาน

วันที่ 13 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน งบประมาณ 1.ค่าแผนป้องกันโรคไข้เลือดออก 1 เล่ม เป็นเงิน 200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีความพร้อมในการจัดกิจกรรม

 

0 0

2. กิจกรรม Big cleaning day

วันที่ 16 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมทำความสะอาดโรงเรียน งบประมาณ
1. ค่าทรายอะเบท 900 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ลดแหลงเพาะพันธุ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะของโรคไข้เลือดออก

 

0 0

3. ประเมินความรู้ก่อนการอบรม

วันที่ 23 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำแบบประเมินก่อนการอบรม งบปรมาณ 1.ค่าแบบทดสอบและประเมินผล 40 ชุดๆละ 20 บาท เป็นเงิน 800 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกพอประมาณ

 

0 0

4. เดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมเดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก งบประมาณ 1.ค่าป้ายไวนิลรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก 4 แผ่น เป็นเงิน 1,640 บาท
2.ค่าแผ่นพับโรคไข้เลือดออก 100 แผ่น เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันโรคไข้เลือดออก

 

0 0

5. สอนทำสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง

วันที่ 3 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมสอนทำสเปย์ตะไคร้หอมไล่ยุง งบประมาณ 1.ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ในการจัดทำตะไคร้หอม
- กรวย 2 อันๆละ 15 บาท เป็นเงิน 30 บาท
- ขวดสเปรย์ 36 ขวดๆละ 15 บาท เป็นเงิน 540 บาท
- ผ้าขาวบาง 5 ผืน เป็นเงิน 105 บาท - ขวดโหล เป็นเงิน 220 บาท - ตะไคร้ เป็นเงิน 500 บาท
- การบรู เป็นเงิน 100 บาท
- แอลกอฮอล์ เป็นเงิน 700 บาท - เมนทอล เป็นเงิน 600 บาท - พิมเสน เป็นเงิน 200 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการทำสเปรย์ตะไคร้

 

0 0

6. อบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 3 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก งบประมาณ 1.ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน 450 บาท 2.ค่าวิทยากร 1 คน 3 ชั่วโมง  เป็นเงิน 1,800 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน 450 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ และดูแลป้องกัน เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกมายิ่งขึ้น

 

0 0

7. กิจกรรม ถาม-ตอบ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก

วันที่ 3 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรม ถาม- ตอบ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก งบประมาณ 1. ของรางวัล 500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข และได้ร่วมกันแลกเปลี่ยนความรู้กัน

 

0 0

8. ประเมินหลังการอบรม

วันที่ 26 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำแบบประเมินหลังการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึ้น สามารถรู้จักการป้องกันตัวเองจากโรคไข้เลือดออกมากยิ่งขึ้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองท่าแตงมีความรู้ เเละมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการผ่านการประเมินหลังฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
42.00 42.00 30.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 42 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 7
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 35 30
กลุ่มวัยทำงาน 0
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนบ้านคลองท่าแตงมีความรู้ เเละมีส่วนร่วมในการป้องกันโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องเพื่อวางเเผนดำเนินงาน (2) กิจกรรม Big cleaning day (3) ประเมินความรู้ก่อนการอบรม (4) อบรมให้ความรู้ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก (5) กิจกรรม ถาม-ตอบ เรื่องการป้องกันโรคไข้เลือดออก (6) สอนทำสเปรย์ตะไคร้หอมไล่ยุง (7) เดินรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก (8) ประเมินหลังการอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก 2565 โรงเรียนบ้านคลองท่าแตง จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุชญา บุญสิริธนา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านคลองท่าแตง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด