กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ เด็กสุขภาพดี วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตลูกปลอดภัยสมบูรณ์ ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายประชา หนูหมาด

ชื่อโครงการ เด็กสุขภาพดี วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตลูกปลอดภัยสมบูรณ์

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5295-1-01 เลขที่ข้อตกลง 7/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"เด็กสุขภาพดี วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตลูกปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
เด็กสุขภาพดี วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตลูกปลอดภัยสมบูรณ์



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด (5) เด็กอายุ 0-72  เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 (6) เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการสอดส่องดูแลวัยรุ่นและร่วมดูแลสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) วัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน (3) อบรมให้ความรู้ (4) นำวัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน จำนวน 3 หมู่บ้านๆละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...-

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ปัญหาอนามัยแม่และเด็กในปัจจุบันส่งผลกระทบต่อภาพลักษณ์ของประเทศและสุขภาพจิตของผู้บริโภคข่าวสารเป็นอย่างมาก เช่น ข่าวการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นที่ไม่มีความพร้อม การกระทำชำเราอนาจารเด็กและวัยรุ่น การทำแท้ง การคลอดบุตรแล้วทิ้ง แม่เลี้ยงเดี่ยว เด็กมีภาวะโภชนาการต่ำหรืออ้วนกว่าเกณฑ์ มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า ซึ่งปัญหาเหล่านี้ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดงก็พบปัญหาเหล่านี้บางปัญหาร่วมด้วย เช่น การตั้งครรภ์ในวัยรุ่นเมื่อยังไม่มีความพร้อม การตั้งครรภ์ในวัยเรียน การคลอดก่อนกำหนด น้ำหนักทารกแรกคลอดต่ำกว่าเกณฑ์ ซึ่งบางปัญหาเกิดจากที่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ที่ไม่พร้อมไม่มีความตระหนักหรือเห็นความสำคัญและไม่เล็งเห็นเห็นถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในอนาคตที่บุตรหลานอาจจะมีภาวะขาดสารอาหาร การพัฒนาการล่าช้า ภาวะด้านการเรียนรู้ต่ำ ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดงจึงอยากมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาเหล่านี้โดยการนำกลุ่มวัยรุ่นมาเรียนรู้จากชีวิตจริงของหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด และหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามีและให้หญิงมีครรภ์ สามีหรือผู้ดูแลมามีส่วนร่วมในการดูแลบุตรหลานของตนเองตั้งแต่การตั้งครรภ์ การคลอด หลังคลอด เด็กมีภาวะโภชนาการต่ำหรืออ้วนกว่าเกณฑ์ มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการแก้ไขโดยผู้ปกครองหรือผู้ดูแลเด็ก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาแดงจึงได้ทำโครงการ “เด็กสุขภาพดี วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตลูกปลอดภัยสมบูรณ์” ประจำปี 2565 ขึ้นโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาในทุกกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน และส่งผลให้เด็กมีสภาวะสุขภาพที่ดีในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
  2. เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
  3. เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
  4. เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
  5. เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
  6. เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการสอดส่องดูแลวัยรุ่นและร่วมดูแลสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  2. วัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน
  3. อบรมให้ความรู้
  4. นำวัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน จำนวน 3 หมู่บ้านๆละ 1 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45
กลุ่มวัยทำงาน 87
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. หญิงตั้งครรภ์มาฝากครรภ์เมื่อรู้ว่าตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์เพิ่มมากขึ้น
    1. หญิงมีครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงและปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆในขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอด
    2. วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร
    3. เด็กอายุ 0–72  เดือน มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย 5 .ผู้ปกครองเด็กอายุ 0–72 เดือน สามารถประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของบุตรได้อย่างถูกต้องและต่อเนื่อง
    4. จำนวนเด็กอายุ 0–72  เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. นำวัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน จำนวน 3 หมู่บ้านๆละ 1 ครั้ง

วันที่ 26 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. นำวัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน
  2. เยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ ทารกหลังคลอด เด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า เด็กผอม เด็กอ้วน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลปละฝากครรภ์ทันทีเมื่่อตั้งครรภ์
  2. มีการติดตามเยี่ยมหญิงตั้งครรภ์ ทารกหลังคลอด จำนวน 3 ครั้ง
  3. มีการร่วมบำเพ็ญประโยชน์โดยวัยรุ่น จำนวน 3 ครั้ง ได้แก่ กิจกรรมBig cleaning  เก็บขยะ2ข้างถนนสาธารณะ เป็นต้น

 

57 0

2. อบรมให้ความรู้

วันที่ 23 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้าน อสม.
  2. อบรมวัยรุ่นอายุ 12-19 ปี ในเรื่องวัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตปลอดภัยสมบูรณ์ โรคเพศสัมพันธ์ุ/วิธีการป้องกันการตั้งครรภ์และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์ การแสดงบทบาทสมมติของวัยรุ่น
  3. อบรมผู็ปกครองเด็ก 0-5 ปี ในเรื่องภาวะโภชนาการเด็ก ภาวะเด็กติดเกมส์ พัฒนาการตามวัย การสาธิตการแปลผลกราฟภาวะโภชนาการเด็กและการตรวจพัฒนาการเด็กตามช่วงอายุ
  4. มีการสาธิตการทำเมนูอาหารสุขภาพ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. มีวัยรุ่นอายุ 12-19 ปี เข้าร่วมอบรม จำนวน 45 คน
  2. ผู้ปกครองเด็ก 0-5 ปี เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 45 คน
  3. วัยรุ่นตั้งครรภ์จำนวน 2 ราย มีวัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ซ้ำจไนวน 1 ราย
  4. เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วน ร้อยละ 55.34 (เป้าหมาย 103 คน/ ผลงาน 57 คน) ยังไม่ผ่านตัวชี้วัด

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลและฝากครรภ์ทันทีเมื่อตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์) ร้อยละ 94.44 (เป้าหมาย 18คน/ผลงาน 17 คน)
  2. ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรง ปลอดภัยจากการตั้งครรภ์ และการคลอด ร้อยละ 100 (คลอด 12 คน/) น้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33
  3. ลดการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควร และการตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น ร้อยละ 11.11 (วัยรุ่นตั้งครรภ์จำนวน 2 คน มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ซ้ำจำนวน 1 คน)
  4. เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วน ร้อยละ 55.34 (เป้า 103 คน/ ผลงาน 57 คน) ยังไม่ผ่านตัวชี้วัด

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (เพิ่มขึ้น)
70.00 90.00 94.44

(เป้าหมาย 18คน/ผลงาน 17 คน)

2 เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น
ตัวชี้วัด : จำนวนหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น(อายุน้อยกว่า 20 ปี) (คน)
5.00 3.00 2.00

วัยรุ่นตั้งครรภ์จำนวน 2 คน มีวัยรุ่นตั้งครรภ์ซ้ำจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 11.11

3 เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละของหญิงคลอด ที่ได้รับการตรวจและเยี่ยมหลังคลอดเพิ่มขึ้น
100.00 100.00 100.00

 

4 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
ตัวชี้วัด : ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
100.00 100.00

(คลอด 12 คน/) น้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม 1 คน คิดเป็นร้อยละ 8.33

5 เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
ตัวชี้วัด : เด็กอายุ 0-72 เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น
70.00 55.34

(เป้า 103 คน/ ผลงาน 57 คน) ยังไม่ผ่านตัวชี้วัด

6 เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการสอดส่องดูแลวัยรุ่นและร่วมดูแลสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพมารดาและทารก
90.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 152 144
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 45 45
กลุ่มวัยทำงาน 87 87
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20 12
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มจำนวนหญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อแก้ปัญหาหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีภาวะตั้งครรภ์วัยรุ่น (3) เพื่อส่งเสริมหญิงตั้งครรภ์อย่างมีคุณภาพ ลดการผิดปกติจากการตั้งครรภ์ (4) เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด (5) เด็กอายุ 0-72  เดือน มีภาวะโภชนาการรูปร่างดีและสมส่วนเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70 (6) เพื่อให้ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมในการสอดส่องดูแลวัยรุ่นและร่วมดูแลสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (2) วัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน (3) อบรมให้ความรู้ (4) นำวัยรุ่นทำกิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ในหมู่บ้าน จำนวน 3 หมู่บ้านๆละ 1 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...-

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


เด็กสุขภาพดี วัยรุ่นไม่ตั้งครรภ์ก่อนวัย ชีวิตลูกปลอดภัยสมบูรณ์ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5295-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายประชา หนูหมาด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด