กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง


“ โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง ”

ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปวีณา ลุกเซ็น

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง

ที่อยู่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1491-03-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 31 กรกฎาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาตาล่วง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L1491-03-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,885.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาตาล่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยในปัจจุบัน สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 ยังมีอยู่ ทั้งที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและอีกหลายประเทศทั่วโลก ทราบกันดีว่าเป็นโรคติดต่ออันตราย เป็นเหตุให้รัฐบาลไทยต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร นอกจากนี้ รัฐบาลไทยได้ออกพระราชกำหนดเพื่อใช้ในการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน โดยวางมาตรการที่พึงปฏิบัติสำหรับบุคคลบางประเภท ซึ่งกำหนดให้เป็นกลุ่มคนที่มีความเสี่ยงสูงต่อการติดเชื้อโรคโควิด-19 ได้ง่าย อยู่ในเคหะสถานหรือบริเวณสถานที่พักของตนเองเพื่อป้องกันตนเองจากการติดเชื้อจากสภาพแวดล้อมภายนอกจากสถานการณ์การระบาดในตอนนี้ สายพันธุ์ เดลต้า จะกลายเป็นสายพันธุ์หลักในระบาดอย่างรวดเร็วและคงระบาดอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ยังมีสายพันธุ์โอมิครอนกำลังแพร่ระบาดอยู่ในขณะนี้ เพื่อให้เป็นไปตามประกาศจังหวัดตรัง เรื่อง หลักเกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จังหวัดตรัง เพื่อให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย ด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา (COVID-19) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง จึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาล่วง เนื่องจากมีความจำเป็นต้องเร่งดำเนินการตรวจค้นหาตรวจโควิด เชิงรุก เพื่อเป็นการเฝ้าระวังและป้องกันโรคอย่างทันท่วงที ในการนี้จึงต้องปรับกระบวนการโดยจัดให้มีกิจกรรมคัดกรองนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องรวมถึงผู้ประกอบอาหาร เข้าสู่ระบบการคัดกรองตรวจหาเชื้อโควิด – 19 และเพื่อให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวทางการปฏิบัติด้านสุขอนามัยส่วนบุคคลและครอบครัว รวมถึงการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียนและครูบุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องได้ปฏิบัติตนตามแนวทางปฏิบัติด้านสุขอนามัยที่กรมควบคุมโรคได้จึงจัดให้มีโครงการนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู พี่เลี้ยง บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องรวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วงได้
  2. เพื่อให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียน ครู พี่เลี้ยง บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และเฝ้าระวังติดตามรายงานผลอย่างต่อเนื่อง
  2. สามารถควบคุมป้องกันโรคระบาดโควิด-19 ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯและชุมชนได้
  3. เด็กรู้จักวิธีการป้องกันตนเองในช่วงการแพร่ระบาดโควิค-19

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ตรวจคัดกรองโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ให้แก่เด็กเล็กศูนย์พัมนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในเด็กเล็ก และเด็กได้รู้จักวิธีการป้องกันตนเองในช่วงโควิดมากขึ้น

 

56 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู พี่เลี้ยง บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องรวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วงได้
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียน ครู พี่เลี้ยง บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องรวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วงได้
0.00

 

2 เพื่อให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง
ตัวชี้วัด : นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง มากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 56
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 56
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้นักเรียน ครู พี่เลี้ยง บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้องรวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับการเฝ้าระวังติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วงได้ (2) เพื่อให้นักเรียน บุคลากรทางการศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง รวมถึงผู้ประกอบอาหาร ได้รับคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจจะเกิดขึ้นได้ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมตรวจคัดกรองกลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเฝ้าระวังป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิค 19 และค้นหาคัดกรองเชิงรุกด้วยชุดตรวจโควิด Antigen Test Kit ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลนาตาล่วง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L1491-03-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปวีณา ลุกเซ็น )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด