กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน


“ หนึ่งตำบล หนึ่งโรงเรียนฟันดี ”

ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวปิยมาศ ไชยมล

ชื่อโครงการ หนึ่งตำบล หนึ่งโรงเรียนฟันดี

ที่อยู่ ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5295-1-05 เลขที่ข้อตกลง 11/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 20 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"หนึ่งตำบล หนึ่งโรงเรียนฟันดี จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าแก่บ่อหิน อำเภอทุ่งหว้า จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าแก่บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
หนึ่งตำบล หนึ่งโรงเรียนฟันดี



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา (3) เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรม (4) เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) .พ่อแม่ ผู้ปกครองควรใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบเป็นปัญหาสำคัญทางทันตสุขภาพที่พบมากในเด็กประถมศึกษา ทำให้เกิดการสูญเสียทั้งสุขภาพร่างกายและจิตใจ และเกิดความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ ซึ่งเป็นโรคที่สามารถป้องกันและแก้ไขไม่ให้ลุกลามได้ โดยการให้ความรู้ สร้างทัศนคติ เพื่อให้เด็กนักเรียนปฏิบัติตนในการดูแลทันตสุขภาพของตนเองอย่างถูกวิธี และสามารถแก้ไขป้องกันไม่ให้โรคลุกลาม จากผลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากเด็กประถมศึกษาในเขตตำบลป่าแก่บ่อหิน ปี 2564 พบฟันน้ำนมผุร้อยละ 68.75 และพบฟันแท้ผุร้อยละ 55.60 ตรวจหากลุ่มนักเรียนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคในช่องปากและนักเรียนที่เป็นโรคในช่องปาก สามารถป้องกันและรักษาแต่เนิ่นๆโดยระบบการส่งต่อไปรับการรักษาที่โรงพยาบาล และประสานความร่วมมือจากผู้ที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหา และมีแนวทางในการทำงานที่มุ่งเน้นในการสร้างทัศนคติของครูและนักเรียนในการเป็นเจ้าของสุขภาพของนักเรียนเอง โดยผ่านกระบวนการบูรณาการด้านหลักสูตรการพัฒนากิจกรรมผู้เรียนและสามารถดำเนินการด้านสุขภาพเป็นอย่างดี และเพื่อให้เกิดความยั่งยืนของกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง การสร้างภาคีเครือข่ายในส่วนของชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและและผู้ปกครองจึงมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง การดำเนินงานในกลุ่มวัยเรียน มีหลักการในการที่จะนำไปสู่การพัฒนาได้อย่างเหมาะสม เนื่องจากมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ตลอดจนมีการสร้างเงื่อนไขในการทำงานร่วมกัน ดังนั้นการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากควรให้ความสำคัญกับโลกทัศน์ของตัวบุคคลนั้นๆและผู้มีอิทธิพลต่อการเลี้ยงดูเด็กดูแลให้เหมาะสมต่อบริบทที่หลากหลายมิใช่เพียงการใช้มุมมองของทางการแพทย์ รวมถึงการให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง เป็นแนวทางหนึ่งที่ช่วยทำให้เกิดการดูแลสุขภาพได้ยั่งยืนและมีความเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ด้วย
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทุ่งดินลุ่มจึงได้ทำโครงการ “หนึ่งตำบล หนึ่งโรงเรียนฟันดี”ประจำปี 2565 ขึ้นโดยให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาฟันผุในเด็ก เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการดำเนินงาน และส่งผลให้เด็กมีสภาวะทันตสุขภาพที่ดีในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
  2. เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา
  3. เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรม
  4. เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ
  2. อบรมให้ความรุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเอง
  2. กลุ่มเป้าหมายที่มีปัญหาสุขภาพช่องปาก ได้รับคำแนะนำ ได้รับบริการทางทันตกรรม และส่งต่อมารับการรักษาที่  จำเป็นที่โรงพยาบาล
  3. กลุ่มเป้าหมายสามารถแปรงฟันของตนเองได้อย่างถูกวิธี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้

วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.อบรมให้ความรู้ 2. ตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มนักเรียน (หมอฟันน้อย)

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ หมอฟันน้อยชั้นประถมศึกษาตอนต้น จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100
  2. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ หมอฟันน้อยชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100
  3. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ  ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100
  4. ตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มนักเรียน (หมอฟันน้อย) จำนวน 60 คน ได้รับการตรวจ 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100

 

90 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรม มีดังนี้ 1. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ หมอฟันน้อยชั้นประถมศึกษาตอนต้น จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ หมอฟันน้อยชั้นประถมศึกษาตอนปลาย จำนวน 30 คน คิดเป้นร้อยละ 100 3. อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ ผู้ปกครองเด็กชั้นอนุบาล จำนวน 30 คน คิดเป็นร้อยละ 100 4. ตรวจสุขภาพช่องปากกลุ่มนักเรียน (หมอฟันน้อย) จำนวน 60 คน ได้รับการตรวจ 60 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ตัวชี้วัด 1. ร้อยละ 100 นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปาก 2. ร้อยละ 65 นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรม 3. ร้อยละ 90 นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กวัยเรียน (6 ปีขึ้นไป) ที่มีปัญหาฟันผุ
68.75 50.00 50.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากไม่น้อยกว่าร้อยละ 85
85.00 100.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 50 นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรม
50.00 65.00

 

4 เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 85 นักเรียนมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปากเพิ่มขึ้น
85.00 90.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90 90
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 30 30
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 30
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะฟันผุของเด็กวัยเรียน (6 ขึ้นไป) ลง (2) เพื่อให้นักเรียนได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและได้รับทันตสุขศึกษา (3) เพื่อให้นักเรียนที่มีปัญหาสุขภาพช่องปากได้รับบริการทันตกรรม (4) เพื่อให้นักเรียนฝึกทักษะการดูแลสุขภาพช่องปากได้อย่างต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ทันตสุขภาพ (2) อบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) .พ่อแม่ ผู้ปกครองควรใส่ใจดูแลสุขภาพช่องปากของเด็กอย่างต่อเนื่อง

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


หนึ่งตำบล หนึ่งโรงเรียนฟันดี จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 65-L5295-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปิยมาศ ไชยมล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด