กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โรงเรียนผู้สูงอายุกีรออาตีส่งเสริมสุขภาพตำบลสะเอะ ประจำปี 2565
รหัสโครงการ 65-L4114-03-08
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในตำบลสะเอะ
วันที่อนุมัติ 23 มีนาคม 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 พฤษภาคม 2565 - 31 กรกฎาคม 2565
กำหนดวันส่งรายงาน 31 สิงหาคม 2565
งบประมาณ 65,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายณรงค์ หะมะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ จังหวัดยะลา
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานผู้สูงอายุ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มผู้สูงอายุ :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
66.00
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
28.00
3 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
42.00
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ปลอดภัย เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ
34.00
5 ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
60.00
6 ร้อยละของผู้สูงอายุที่มีกลุ่มหรือสังกัดชมรม
14.75

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

 

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

66.00 68.00
2 เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปีขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางอย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

28.00 35.00
3 เพื่อเพิ่มการกินผัก ผลไม้ ของคนในชุมชน

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 400 กรัม เพิ่มขึ้นเป็น

42.00 55.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ

ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น

34.00 40.00
5 เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม

ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม  ลดลง

60.00 55.00
6 เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น

14.75 20.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 65,000.00 0 0.00
11 พ.ค. 65 - 20 ก.ค. 65 ขยับกายรับอรุณ อุ่นเครื่องก่อนเรียน (10 ครั้งๆละ 30 นาที) 0 0.00 -
11 พ.ค. 65 กินดีต้องมีผัก เพราะรักให้ผักนำ 0 6,950.00 -
11 พ.ค. 65 - 20 ก.ค. 65 กีรออาตีส่งเสริมสุขภาพ 0 0.00 -
18 พ.ค. 65 การทรงตัวของผู้สูงอายุกับความเสี่ยงในการหกล้ม 0 5,950.00 -
25 พ.ค. 65 สูงวัย แข็งแรง จิตแจ่มใส 0 5,950.00 -
1 มิ.ย. 65 ยิ้มสดใส สูงวัยใจละลาย 0 5,950.00 -
15 มิ.ย. 65 นันทนาการคลายเหงา คนวัยเก๋าชลอความเสื่อม 0 7,950.00 -
22 มิ.ย. 65 การจัดสภาพแวดล้อมและที่พักอาศัยที่เหมาะสมกับผู้สูงวัย 0 5,950.00 -
29 มิ.ย. 65 เสริมสร้างคุณค่า ภูมิปัญญาท้องถิ่น 0 8,450.00 -
6 ก.ค. 65 ปัญหาสุขภาพและโรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ 0 5,950.00 -
20 ก.ค. 65 การฝึกปฏิบัติดูแลผู้ป่วยเบื้องต้นและการใช้ยา 0 11,900.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุให้ความสำคัญต่อการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอเพื่อป้องกันโรค 2.ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการดูแลตัวเองแลส่งต่อความรู้และทักษะให้กับเพื่อนบ้าน ชุมชนไกล้เคียงต่อไป 3.ชุมชนเกิดความตื่นตัว/ตระหนักในการเตรียมความพร้อมการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ

stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 2565 09:59 น.