กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L7258-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 15 กันยายน 2565

กิตติกรรมประกาศ

"ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565



บทคัดย่อ

โครงการ " ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L7258-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2565 - 15 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,435,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ตั้งแต่เริ่มการแพร่ระบาดในประเทศไทยจนถึงปัจจุบัน มีแนวโน้มการแพร่ระบาดที่เพิ่มมากขึ้น และประเทศไทย ได้เข้าสู่การระบาดในระยะที่ ๓ (ละลอก ๓) องค์การอนามัยโลกได้ประกาศให้ การระบาดของโรคดังกล่าวเป็นภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระหว่างประเทศ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข โดยคำแนะนำของคณะกรรมการโรคติดต่อแห่งชาติ จึงได้ประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) เป็นโรคติดต่ออันตรายตามพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.๒๕๕๘ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2563 ได้กำหนดมาตรการเร่งด่วนในการป้องกันวิกฤตการณ์จากโรคดังกล่าว ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทยด่วนที่สุด ที่ มท 0211.3/ว 1538 เรื่อง การบริหารจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ในเขตพื้นที่ของแต่ละจังหวัด สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ระลอกที่ ๓    ในประเทศไทย มีการระบาดโดยมีคลัสเตอร์เริ่มมาจากสถานบันเทิงในพื้นที่กรุงเทพฯ จังหวัดนครปฐม นนทบุรี ชลบุรี และแพร่กระจายอย่างรวดเร็วไปใน 77 จังหวัด มีผู้ป่วยยืนยันสะสม 2,172,004 คน (นับจาก  วันที่ 1 เมษายน 2564 จนถึงปัจจุบัน) รักษาหายแล้ว 2,101,326คน เสียชีวิต 21,194คน ข้อมูลเมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2564 (กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข) ข้อมูลจังหวัดสงขลา ณ วันที่ 12ธันวาคม 2564 จำนวนผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 63,847 คน รักษาหายแล้ว 61,758คน เสียชีวิต 283 คน ข้อมูลเมื่อวันที่ 12ธันวาคม2564 (สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา) สำหรับพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่ มีผู้ป่วยยืนยันสะสม จำนวน 5,903 คน รักษาหายแล้ว จำนวน 5,162 คน เสียชีวิต 14 คน ข้อมูล ณ วันที่ 12ธันวาคม 2564 (สำนักงานสาธารณสุขอำเภอหาดใหญ่) เทศบาลนครหาดใหญ่นั้น เป็นเมืองที่เป็นศูนย์กลางทั้งทางด้านการคมนาคม ขนส่ง การท่องเที่ยว การศึกษา เป็นเมืองเศรษฐกิจที่สำคัญของภาคใต้ มีผู้เดินทางเข้ามาจากต่างประเทศทั้งมาเลเซีย สิงคโปร์ ฯลฯ รวมถึงผู้เดินทางในประเทศก็เดินทางหมุนเวียนเข้ามาเป็นจำนวนมาก ทางเทศบาลนครหาดใหญ่มีความจำเป็นจะต้องกำหนดมาตรการต่างๆ เพื่อบริหารจัดการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด      ลดอุบัติการณ์การระบาดและการเสียชีวิตให้มากที่สุด   พระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 และแก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2562 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ให้เทศบาลปฏิบัติงานป้องกันและระงับโรคติดต่อ ฝ่ายบริการสาธารณสุข สำนักสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือต่อภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อจากไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ให้ทันต่อเหตุการณ์เพื่อลดผลกระทบ ต่อสุขภาพของประชาชน ตลอดจนป้องกันมิให้เกิดการแพร่ระบาดของโรค ในวงกว้าง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID ๑๙)
  2. 2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดและการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
  2. 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้ 2.ลดการเกิดโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.การดำเนินงานตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเป็นระบบ มีมาตรฐานชัดเจนและมีประสิทธิภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านสื่อต่างๆ 2.สนับสนุนการดำเนินงานเฝ้าระวังจัดหาวัสดุอุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อ 3.ติดตามสถานการณ์เฝ้าระวังสถานการณ์และแจ้งข่าวสารให้กับประชาชนทราบเป็นระยะๆ 4.จัดให้มีจุดสแกนอุณหภูมิ เพื่อเฝ้าระวังป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนทั่วไปในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ได้

 

0 0

2. 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ดำเนินการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชน รณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดตั้งตามจุดสำคัญแหล่งชุมชน ศูนย์บริการสาธารณสุข วัด มัสยิด คริสตจักร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเอง สามารถป้องกันตนเองจากโรคติดต่อและโรคติดเชื้อได้

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID ๑๙)
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนได้รับความรู้ในการดูแลป้องกันตนเองจากโรคติดต่อฯ

 

2 2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดและการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID ๑๙)
ตัวชี้วัด : 2.ไม่มีการระบาดรุนแรงของโรคติดต่อฯ ในพื้นที่เทศบาลนครหาดใหญ่

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนในการดูแลเฝ้าระวังป้องกันตนเองเรื่องโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙(COVID ๑๙) (2) 2. เพื่อเฝ้าระวัง ป้องกันการเกิดและการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙  (COVID ๑๙)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำและเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (2) 2.กิจกรรมประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ป้องกันและควบคุมโรคติดต่ออุบัติใหม่ อุบัติซ้ำ และเฝ้าระวังการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L7258-1-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด