กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู


“ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ”

ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางทัศนีย์ ศรีระนำ

ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)

ที่อยู่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มีนาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มีนาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 98,943.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID- 19) ได้มีการแพร่ระบาดระลอกใหมในพื้นที่จังหวัดนราธิวาส ส่งผลให้มีจำนวนผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เป็นจำนวนมากและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในระยะเวลาอันสั้น แม้ว่าจะใช้มาตรการป้องกันควบคุมโรคหลายมาตรการ เช่น คัดกรองและ เฝ้าระวังโรค กักตัวผู้มีความเสี่ยง รักษาระยะห่างระหว่างบุคคล สวมหน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้า หลีกเลี่ยงการจัดกิจกรรมที่รวมกลุ่มคนจำนวนมากไปแล้วก็ยังไม่สามารถควบคุมการแพร่ระบาดได้ สถานการณ์การระบาดของโรคเพิ่มจำนวนมากขึ้น เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ ๆในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการในการดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็น บุคลากรที่ตรวจคัดกรองเบื้องต้น และสถานที่ ที่ให้รักษา

จากข้อมูลการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID-19 ) ของตำบลลำภู ในช่วง ๒ สัปดาห์ที่ผ่านมา ( วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2565 - 4 มีนาคม 2565 ) มีกลุ่มเสี่ยงเข้ารับการตรวจ ด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit ATK) ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลำภู ซึ่งเป็นนโยบายในการคัดกรอง และ ให้การรักษาในระดับพื้นที่ ของ จังหวัดนราธิวาส สรุปได้ ดังนี้เข้ารับการตรวจทั้งหมด จำนวน 899 ราย ( เฉลี่ยวันละ 89.9 ราย )ให้ผลเป็นบวก จำนวน 535 ราย ร้อยละ 59.51 ให้ผลเป็นลบ จำนวน 364 ราย ร้อยละ 40.49 กักตัวที่พักอาศัย จำนวน 534 ราย ร้อยละ 99.81 ส่ง รพ. จำนวน 1 ราย ร้อยละ 0.19 เพื่อลดผลกระทบต่องานสาธารณสุขในพื้นที่ เห็นควรดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาด โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-1 9) ให้ทันต่อสถานการณ์ โดยพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุขในพื้นที่ ในการตรวจคัดกรองขั้นต้นด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit ATK) รวมทั้งจัดหาชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) สนับสนุนให้ชุมชน ซึ่งการใช้ ATK ในการคัดกรองเป็นที่ยอมรับว่าให้ผลดีและรวดเร็ว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านตำบลลำภู จึงได้จัดทำ โครงการเฝ้าระวังโรคโควิค-19 ในชุมชนด้วยชุด ตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)
  2. เพื่อจัดหาชุดด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)
  3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลซึ่งกันและกัน ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มสัมผัสเสี่ยงสูงได้รับการตรวจทุกราย 2.มีวัสดุอุปกรณ์เพื่อตรวจเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)
    ตัวชี้วัด : ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้อต้น ด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)
    90.00

     

    2 เพื่อจัดหาชุดด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK)
    ตัวชี้วัด : มีชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพียงพอให้บริการ
    90.00

     

    3 สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลซึ่งกันและกัน ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19
    ตัวชี้วัด : ชุมชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรค ดูแลซึ่งกันและกัน
    90.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) (2) เพื่อจัดหาชุดด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) (3) สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลซึ่งกันและกัน ในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค COVID-19

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการเฝ้าระวังโรคโควิด-19 ในชุมชนด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางทัศนีย์ ศรีระนำ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด