กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ


“ โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ”

ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางมารานี ดาโอะ

ชื่อโครงการ โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565

ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L3057 – 1 - 1 เลขที่ข้อตกลง 1/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65 – L3057 – 1 - 1 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาศัยอำนาจแห่งพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 แก้ไขเพิ่มเติมถึง มาตรา 66 องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม มาตรา 67 องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ (6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ ประกอบอำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2546 มาตรา ๑๖ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (๑๐) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส(๑๙) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล       องค์การบริหารส่วนตำบลถือว่าเป็นบทบาทหน้าที่หลักในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาส ซึ่งผู้สูงอายุ พิการ และผู้ด้อยโอกาส สามารถทำคุณประโยชน์ต่อสังคมควบคู่ไปกับลูกหลานคนรุ่นหลังและเป็นแบบอย่างการใช้ชีวิตในอนาคตอย่างมีความสุข และส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ และผู้พิการให้มีความสุขภาพอนามัยและความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น เช่น มีระบบเฝ้าระวังสุขภาพ/สุขภาวะด้วยตนเองและครอบครัว การสร้างเครือข่ายการจัดการบริการผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเรื้อรัง และผู้ด้อยโอกาสที่ทุพพลภาพ เข้าถึงการบริการด้านการแพทย์ อีกทั้งการเยี่ยมบ้านยังเป็นการค้นหาปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนและทำความเข้าใจกันสภาพปัญหานั้นๆ เพื่อที่จะเป็นแนวทางแก้ไขให้เหมาะกับวิถีชีวิตของชุมชน และสามารถประเมินสุขภาพของประชาชนป้องกันโรคแทรกซ้อนที่อาจจะเกิดกับตัวบุคคลในอนาคต ซึ่งสามารถลดระดับความรุนแรงของปัญหาสุขภาพอนามัยขั้นพื้นฐานได้ ประกอบกับองค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอ เป็นพื้นที่เป้าหมายที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณในการดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุภาวะพึ่งพิง ภายใต้สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลปะเสยะวอ จึงขอความอนุเคราะห์สนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพฯ ในการจัดทำโครงการ เพื่อเป็นการติดตามอาการเยี่ยมเยียน ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสที่ทุพพลภาพอย่างต่อเนื่อง ไม่ให้เกิดความโดดเดี่ยวและมีกำลังใจพร้อมที่จะต่อสู้และมีสุขภาพจิต กายที่ดีขึ้น และเป็นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีแก่ผู้สูงวัย ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสที่ทุพพลภาพในพื้นที่ตำบลปะเสยะวอต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเยี่ยมให้การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียงและผู้ด้อยโอกาส
  2. เพื่อประเมินคุณภาพชีวิต ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. - สำรวจข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้สูงอายุและผู้พิการเพื่อจัดตารางเยี่ยมและคัดกรองความดันโลหิต - อบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการติดเตียง เพื่อพัฒนาและเสริมศักยภาพ - จัดชุดอาหารตัวอย่าง และอุปกรณ์ในการเยี่ยม - การลงพื้นที่เยี่ยม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง ผู้ด้อยโอกาส ได้รับการเยี่ยมบ้านและการดูแลเบื้องต้น   2. คุณภาพชีวิตและสุขภาพจิตผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการที่รับการเยี่ยมดีขึ้น ดำรงชีวิตความสุขกำลังใจมากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเยี่ยมให้การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียงและผู้ด้อยโอกาส
ตัวชี้วัด : ได้รับคำแนะนำ และวิธีการปฏิบัติตัวได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

2 เพื่อประเมินคุณภาพชีวิต ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส
ตัวชี้วัด : มีกำลังใจมากขึ้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 60
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเยี่ยมให้การดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียงและผู้ด้อยโอกาส (2) เพื่อประเมินคุณภาพชีวิต ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) - สำรวจข้อมูลผู้ป่วยเรื้อรัง/ผู้สูงอายุและผู้พิการเพื่อจัดตารางเยี่ยมและคัดกรองความดันโลหิต - อบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง และผู้พิการติดเตียง เพื่อพัฒนาและเสริมศักยภาพ - จัดชุดอาหารตัวอย่าง และอุปกรณ์ในการเยี่ยม - การลงพื้นที่เยี่ยม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ผู้สูงอายุ ผู้พิการติดเตียง และผู้ด้อยโอกาส ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65 – L3057 – 1 - 1

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางมารานี ดาโอะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด