กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางลัดดาวัลย์ อบทอง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 6/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มีนาคม 2565 ถึง 30 เมษายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มีนาคม 2565 - 30 เมษายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,900.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคที่ไม่ติดต่อเรื้อรังรักษาไม่หายขาดแต่สามารถป้องกันได้ เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งถือเป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร มีปัจจัยเสี่ยงที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง ได้แก่ อายุมากกว่า 35 ปี มีพ่อหรือแม่ พี่หรือน้องเป็นความดันโลหิตสูง เบาหวาน และวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไปในลักษณะของสังคมเมือง เนื่องจากวิถีชีวิตที่มีพฤติกรรมเสี่ยง ได้แก่ การรับประทานอาหารที่มีรสชาติหวาน มัน เค็ม การขาดการออกกำลังกาย การดื่มเหล้า การสูบบุหรี่ และความเครียดที่สะสมมาเป็นเวลานานทำให้เกิดโรค องค์การอนามัยโลก รายงานว่าทั่วโลกมีผู้ที่มีความดันโลหิตสูงมากถึงพันล้านคน ซึ่งสองในสามของจำนวนนี้อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา โดยประชากรวัยผู้ใหญ่ทั่วโลก 1 คน ใน 3 คนมีภาวะความดันโลหิตสูง และประชากรวัยผู้ใหญ่ในเขตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบมี 1 คน ใน 3 คน ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงเช่นกัน ซึ่งโรคความดันโลหิตสูงนี้ ยังเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตเกือบร้อยละ 50 ด้วยโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต และโรคหัวใจ (สำนักงานโรคไม่ติดต่อ, 2562) ข้อมูลสถิติโรคความดันโลหิตสูงของจังหวัดสตูล ๓ ปีย้อนหลัง (ปี 2562-2564) พบอัตราป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร เป็น 10,394.58, 10,696.42, 11,126.81 ตามลำดับ จะเห็นได้ว่า อัตราป่วยของโรคเพิ่มขึ้น และจากข้อมูลสถิติโรคความดันโลหิตสูงของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ 3 ปีย้อนหลัง (ปี 2562-2564) พบว่าอัตราป่วยโรคความดันโลหิตสูงต่อแสนประชากร 8,590.38, 8,833.33, 9,233.86 ตามลำดับจะเห็นได้ว่า อัตราป่วยของโรคเพิ่มขึ้น
จากการศึกษาสถานการณ์ของประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ในหมู่ที่ 5 บ้านควนพัฒนา ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ปี 2564 พบว่าประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป กลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มสงสัยป่วย ร้อยละ 59.18, 24.49, 15.31 ตามลำดับ ซึ่งกลุ่มเสี่ยงดังกล่าวที่ไม่สามารถคุมระดับความดันโลหิตได้ อาจกลายเป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงและเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายได้ ทั้งนี้สาเหตุสำคัญของการเกิดโรคดังกล่าว เกิดจากประชาชนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมเช่นการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็มจัด ขาดการออกกำลังกาย การดื่มเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์ การสูบบุหรี่ การมีภาวะเครียดในการใช้ชีวิตประจำวัน และที่สำคัญ คือ ขาดความตระหนักใน การดูแลตนเองทั้งในตอนที่สุขภาพร่างกายปกติและยามเจ็บป่วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามแนวทาง 3อ.2ส. ในด้านการรับประทาน อาหาร การออกกำลังกาย อารมณ์ และการหลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา ทำให้กลุ่มเสี่ยงมีภาวะสุขภาพที่ดีขึ้น ส่งผลให้ไม่เป็นผู้ป่วยรายใหม่ด้วยโรคความดันโลหิตสูง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 5 บ้านควนพัฒนา ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล ขึ้นเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแก่กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงตามแนวทาง 3อ.2ส. โดยคาดหวังว่ากลุ่มเสี่ยงจะมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมและถูกต้อง ส่งผลให้กลุ่มเสี่ยงไม่ป่วยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ และคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.
  2. ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในด้าน ๓อ.๒ส.
  3. ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม ประเมินภาวะสุภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ให้ผู้เข้าร่วมโครงการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ดัชนีมวลกาย และวัดความดันโลหิตก่อนการเข้าร่วมโครงการ
  2. กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย
  3. กิจกรรมสร้างรณรงค์กระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตาม 3 อ. 2 ส.
  4. กิจกรรม อบรมการให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง
  5. กิจกรรมสร้างรณรงค์กระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตาม 3 อ. 2 ส.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคความดันโลหิต และการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส.
  2. กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
  3. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงที่เข้ารวมโครงการ ร้อยละ 80 มีความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
0.00

 

2 ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในด้าน ๓อ.๒ส.
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมที่เหมาะสม ร้อยละ 80 ในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูง
0.00

 

3 ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงระดับความดันโลหิต ร้อยละ 80 ในการควบคุมระดับความดันโลหิต
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ. 2ส. (2) ข้อที่ 2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคความดันโลหิตสูงในด้าน ๓อ.๒ส. (3) ข้อที่ 3 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงควบคุมความดันโลหิตให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม ประเมินภาวะสุภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง ให้ผู้เข้าร่วมโครงการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง ดัชนีมวลกาย และวัดความดันโลหิตก่อนการเข้าร่วมโครงการ (2) กิจกรรม อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย (3) กิจกรรมสร้างรณรงค์กระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตาม 3 อ. 2 ส. (4) กิจกรรม อบรมการให้ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง (5) กิจกรรมสร้างรณรงค์กระแสการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตาม 3 อ. 2 ส.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสียงโรคความดันโลหิตสูง ตามหลัก 3อ.2ส. บ้านควนพัฒนา หมู่ที่ 5 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางลัดดาวัลย์ อบทอง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด