การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซอไอมิง ปีแนบาโง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ
กันยายน 2565
ชื่อโครงการ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3057-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
บทคัดย่อ
โครงการ " การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3057-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในสถานการณ์ปัจจุบัน การบาดเจ็บและอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยมีความหลากหลายมากขึ้น การดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤตฉุกเฉินจากอุบัติเหตุ และภัยพิบัติต่างๆ ซึ่งภาวะวิกฤตฉุกเฉินต่างๆจำเป็นต้องได้รับการ ประเมินอาการและการช่วยเหลือ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การเคลื่อนย้ายที่ถูกวิธีเพื่อไม่ให้ผู้บาดเจ็บได้รับบาดเจ็บ หรือพิการ เพิ่มขึ้นจากการเคลื่อนย้ายที่ไม่ถูกวิธี ดังนั้นการดูแลและช่วยเหลือผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตฉุกเฉินที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ จึงมีความจำเป็นสำหรับผู้พบเห็นคนแรกที่จะสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นก่อนนำส่งสถานพยาบาลที่มีศักยภาพต่อไป
ภาวะหัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest) เป็นภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ จนกระทั่งไม่มีการบีบตัวหรือหยุดเต้น การไหลเวียนโลหิตภายในร่างกานหยุดลงอย่างสิ้นเชิง ส่งผลให้เลือดและออกซิเจนเลี้ยงส่วนของร่างกายไม่เพียงพอ เซลล์ต้องใช้การเผาผลาญพลังงานแบบไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งทำให้ร่างกายเกิดภาวะความเป็นกรด นำไปสู่ความผิดปกติทั้งที่อวัยวะและเซลล์และเมื่ออวัยวะและเซลล์ขาดออกซิเจนเลี้ยงนานๆจะทำให้สูญเสียการทำงานอย่างถาวร โดยสมองจะเกิดความเสียหายหากขาดเลือดเกิน 4 นาที และหากสมองขาดเลือดนานเกิน 12 นาที ก้านสมองซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการหายใจจะเสียหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถหายใจเองได้เนื่องจากเกิดภาวะสมองตาย และเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุดหากไม่ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาเป็นนาที โดยภาวะหัวใจหยุดเต้นนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ที่พบส่วนใหญ่มี 2 สาเหตุหลักโดยสาเหตุแรกเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากมีโรคหัวใจอยู่เดิมโดยเจ้าตัวอาจไม่ทราบ หรือไม่เคยตรวจมาก่อน มักพบในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป มักพบว่าหัวใจจะเต้นผิดปกติชนิดที่สั่นพลิ้วไม่มีแรงบีบตัวเพื่อให้เลือดออกจากหัวใจ (Ventricular Fibrillation : VF) ซึ่งในภาวะปกติหัวใจจะผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นให้หัวใจบีบตัวอย่างเป็นจังหวะ ซึ่งจะส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย แต่เมื่อเกิดหัวใจเต้นผิดปกติชนิดVF กระแสไฟฟ้าที่ส่งออกจากหัวใจจะเร็วและไม่เป็นจังหวะจนทำให้หัวใจไม่บีบตัวและเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงร่างกายได้ ส่วนสาเหตุที่ 2 คือ การขาดออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายจากระบบการหายใจล้มเหลว เช่น หยุดหายใจ ทางเดินหายใจอุดกั้น จมน้ำ การได้รับสารพิษ การได้รับยาเกินขนาด ไฟฟ้าช๊อต รวมทั้งการขาดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ เช่น การได้รับบาดเจ็บรุนแรง การเสียเลือดในปริมาณมาก เป็นต้น
ในปัจจุบันจากการทำงานและเก็บข้อมูลของผู้ป่วยที่มารับบริการในห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี ปีงบประมาณ 2564 พบว่าผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นก่อนถึงโรงพยาบาลมีจำนวน 60 ราย ซึ่งในจำนวนที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นก่อนถึงโรงพยาบาล ได้รับการช่วยฟื้นคืน ( Cardio Pulmonary Resuscitation: CPR ) โดยผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรก จำนวน 2 ราย คิดเป็น3.33% ซึ่งส่วนใหญ่เป็นญาติที่พบเห็นผู้ป่วย แต่ส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพก่อนมาโรงพยาบาลซึ่ง ปิยสกล สกลสัตยาธร พ.ศ.2559 กล่าวว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นมักเสียชีวิตทันทีหากไม่ได้รับการช่วยเหลือ และพบว่าการเริ่มช่วยฟื้นคืนชีพโดยผู้พบเห็นเหตุการณ์ (Bystander) ที่รวดเร็วเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการรอดชีวิตของผู้ป่วย
การช่วยฟื้นคืนชีพ ( Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR ) มี 2 ประเภท ได้แก่การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน( Basic Life Support: BLS) และการช่วยชีวิตขั้นสูง (Advance Life Support)
ซึ่งขั้นตอนการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การนวดหัวใจ โดยไม่จำเป็นต้องเป่าปากร่วมด้วย วิธีการนวดหัวใจทำได้โดย วางสันมือข้างที่ถนัดไว้ตรงบริเวณกลางหน้าอกของผู้ป่วย และนำมืออีกข้างหนึ่งวางทับไว้ด้านบน ระหว่างทำการนวดหัวใจให้แขนเหยียดตรงตลอดเวลา จากนั้นให้ทำการกดหน้าอกให้ลึกประมาณ 2 นิ้ว โดยทำการกด และปล่อยหน้าอกให้คืนตัวสุดก่อนการกดแต่ละครั้ง กดด้วยความเร็วอย่างน้อย 100-120 ครั้ง/นาที และพยายามทำการนวดหัวใจให้ต่อเนื่องกันให้มากที่สุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอและ กลุ่มงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี เห็นถึงความสำคัญในการให้ความรู้กับกลุ่มประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่สามารถพัฒนาและฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยที่ประสบเหตุได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ก่อนนำส่งโรงพยาบาลต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง
- 6.1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง - ค่าอาหารกลางวัน รุ่นที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 2,750 บาท รุ่นที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x ม
- ค่าป้ายไวนิลขนาด 1x3 เมตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูวิชาการและฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นชีพขั้นพื้นฐาน
๒. กลุ่มเป้าหมายสามารถประสานงานกับเครือข่ายในการขอความช่วยเหลือ กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
๓. การขอความช่วยเหลือผ่านหมายเลข 1669 ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
4. สามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูวิชาการและฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นชีพขั้นพื้นฐาน
0.00
2
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถประสานงานกับเครือข่ายในการขอความช่วยเหลือ กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
40
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง (2) 6.1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง - ค่าอาหารกลางวัน รุ่นที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 2,750 บาท รุ่นที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x ม (3) ค่าป้ายไวนิลขนาด 1x3 เมตร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3057-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายซอไอมิง ปีแนบาโง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายซอไอมิง ปีแนบาโง
กันยายน 2565
ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3057-1-04 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 30 กันยายน 2565
กิตติกรรมประกาศ
"การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
บทคัดย่อ
โครงการ " การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3057-1-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กุมภาพันธ์ 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 39,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ในสถานการณ์ปัจจุบัน การบาดเจ็บและอาการเจ็บป่วยของผู้ป่วยมีความหลากหลายมากขึ้น การดูแลผู้ป่วยภาวะวิกฤตฉุกเฉินจากอุบัติเหตุ และภัยพิบัติต่างๆ ซึ่งภาวะวิกฤตฉุกเฉินต่างๆจำเป็นต้องได้รับการ ประเมินอาการและการช่วยเหลือ อย่างถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการปฐมพยาบาลเบื้องต้น การเคลื่อนย้ายที่ถูกวิธีเพื่อไม่ให้ผู้บาดเจ็บได้รับบาดเจ็บ หรือพิการ เพิ่มขึ้นจากการเคลื่อนย้ายที่ไม่ถูกวิธี ดังนั้นการดูแลและช่วยเหลือผู้บาดเจ็บหรือผู้ป่วยที่มีภาวะวิกฤตฉุกเฉินที่มีภาวะคุกคามต่อชีวิต ณ จุดเกิดเหตุ จึงมีความจำเป็นสำหรับผู้พบเห็นคนแรกที่จะสามารถช่วยเหลือเบื้องต้นก่อนนำส่งสถานพยาบาลที่มีศักยภาพต่อไป
ภาวะหัวใจหยุดเต้น (Cardiac Arrest) เป็นภาวะที่หัวใจทำงานผิดปกติ จนกระทั่งไม่มีการบีบตัวหรือหยุดเต้น การไหลเวียนโลหิตภายในร่างกานหยุดลงอย่างสิ้นเชิง ส่งผลให้เลือดและออกซิเจนเลี้ยงส่วนของร่างกายไม่เพียงพอ เซลล์ต้องใช้การเผาผลาญพลังงานแบบไม่ใช้ออกซิเจน ซึ่งทำให้ร่างกายเกิดภาวะความเป็นกรด นำไปสู่ความผิดปกติทั้งที่อวัยวะและเซลล์และเมื่ออวัยวะและเซลล์ขาดออกซิเจนเลี้ยงนานๆจะทำให้สูญเสียการทำงานอย่างถาวร โดยสมองจะเกิดความเสียหายหากขาดเลือดเกิน 4 นาที และหากสมองขาดเลือดนานเกิน 12 นาที ก้านสมองซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการหายใจจะเสียหาย ผู้ป่วยจะไม่สามารถหายใจเองได้เนื่องจากเกิดภาวะสมองตาย และเป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยเสียชีวิตในที่สุดหากไม่ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาเป็นนาที โดยภาวะหัวใจหยุดเต้นนั้นเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุ ที่พบส่วนใหญ่มี 2 สาเหตุหลักโดยสาเหตุแรกเกิดจากโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งส่วนใหญ่เกิดจากมีโรคหัวใจอยู่เดิมโดยเจ้าตัวอาจไม่ทราบ หรือไม่เคยตรวจมาก่อน มักพบในผู้ป่วยที่มีอายุมากกว่า 35 ปีขึ้นไป มักพบว่าหัวใจจะเต้นผิดปกติชนิดที่สั่นพลิ้วไม่มีแรงบีบตัวเพื่อให้เลือดออกจากหัวใจ (Ventricular Fibrillation : VF) ซึ่งในภาวะปกติหัวใจจะผลิตกระแสไฟฟ้าเพื่อกระตุ้นให้หัวใจบีบตัวอย่างเป็นจังหวะ ซึ่งจะส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะส่วนต่างๆของร่างกาย แต่เมื่อเกิดหัวใจเต้นผิดปกติชนิดVF กระแสไฟฟ้าที่ส่งออกจากหัวใจจะเร็วและไม่เป็นจังหวะจนทำให้หัวใจไม่บีบตัวและเลือดไม่สามารถไปเลี้ยงร่างกายได้ ส่วนสาเหตุที่ 2 คือ การขาดออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกายจากระบบการหายใจล้มเหลว เช่น หยุดหายใจ ทางเดินหายใจอุดกั้น จมน้ำ การได้รับสารพิษ การได้รับยาเกินขนาด ไฟฟ้าช๊อต รวมทั้งการขาดเลือดไปเลี้ยงส่วนต่างๆ เช่น การได้รับบาดเจ็บรุนแรง การเสียเลือดในปริมาณมาก เป็นต้น
ในปัจจุบันจากการทำงานและเก็บข้อมูลของผู้ป่วยที่มารับบริการในห้องอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี ปีงบประมาณ 2564 พบว่าผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นก่อนถึงโรงพยาบาลมีจำนวน 60 ราย ซึ่งในจำนวนที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นก่อนถึงโรงพยาบาล ได้รับการช่วยฟื้นคืน ( Cardio Pulmonary Resuscitation: CPR ) โดยผู้พบเห็นเหตุการณ์คนแรก จำนวน 2 ราย คิดเป็น3.33% ซึ่งส่วนใหญ่เป็นญาติที่พบเห็นผู้ป่วย แต่ส่วนใหญ่ผู้ป่วยไม่ได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพก่อนมาโรงพยาบาลซึ่ง ปิยสกล สกลสัตยาธร พ.ศ.2559 กล่าวว่า ผู้ป่วยภาวะหัวใจหยุดเต้นมักเสียชีวิตทันทีหากไม่ได้รับการช่วยเหลือ และพบว่าการเริ่มช่วยฟื้นคืนชีพโดยผู้พบเห็นเหตุการณ์ (Bystander) ที่รวดเร็วเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อการรอดชีวิตของผู้ป่วย
การช่วยฟื้นคืนชีพ ( Cardio Pulmonary Resuscitation : CPR ) มี 2 ประเภท ได้แก่การช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน( Basic Life Support: BLS) และการช่วยชีวิตขั้นสูง (Advance Life Support)
ซึ่งขั้นตอนการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานประกอบด้วย การนวดหัวใจ โดยไม่จำเป็นต้องเป่าปากร่วมด้วย วิธีการนวดหัวใจทำได้โดย วางสันมือข้างที่ถนัดไว้ตรงบริเวณกลางหน้าอกของผู้ป่วย และนำมืออีกข้างหนึ่งวางทับไว้ด้านบน ระหว่างทำการนวดหัวใจให้แขนเหยียดตรงตลอดเวลา จากนั้นให้ทำการกดหน้าอกให้ลึกประมาณ 2 นิ้ว โดยทำการกด และปล่อยหน้าอกให้คืนตัวสุดก่อนการกดแต่ละครั้ง กดด้วยความเร็วอย่างน้อย 100-120 ครั้ง/นาที และพยายามทำการนวดหัวใจให้ต่อเนื่องกันให้มากที่สุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะเสยะวอและ กลุ่มงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสายบุรี เห็นถึงความสำคัญในการให้ความรู้กับกลุ่มประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่สามารถพัฒนาและฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาศักยภาพ ให้สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยที่ประสบเหตุได้อย่างทันท่วงทีและมีประสิทธิภาพ ก่อนนำส่งโรงพยาบาลต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน
- เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง
- 6.1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง - ค่าอาหารกลางวัน รุ่นที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 2,750 บาท รุ่นที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x ม
- ค่าป้ายไวนิลขนาด 1x3 เมตร
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 110 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. กลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูวิชาการและฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นชีพขั้นพื้นฐาน ๒. กลุ่มเป้าหมายสามารถประสานงานกับเครือข่ายในการขอความช่วยเหลือ กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน ๓. การขอความช่วยเหลือผ่านหมายเลข 1669 ในระบบการแพทย์ฉุกเฉิน 4. สามารถให้การช่วยเหลือผู้ป่วย ณ จุดเกิดเหตุ ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายได้รับการฟื้นฟูวิชาการและฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นชีพขั้นพื้นฐาน |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายสามารถประสานงานกับเครือข่ายในการขอความช่วยเหลือ กรณีเกิดเหตุการณ์ฉุกเฉิน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 40 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 110 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถประเมินและดูแลผู้ป่วยได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และปลอดภัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง (2) 6.1 กิจกรรมหลักที่ 1 ฟื้นฟูวิชาการและการฝึกปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐานและขั้นสูง - ค่าอาหารกลางวัน รุ่นที่ 1 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x มื้อละ 50 บาท เป็นเงิน 2,750 บาท รุ่นที่ 2 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน + วิทยากร 5 คน x ม (3) ค่าป้ายไวนิลขนาด 1x3 เมตร
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
การปฐมพยาบาลเบื้องต้น การประเมินผู้ป่วยและการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 65-L3057-1-04
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายซอไอมิง ปีแนบาโง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......