กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา


“ โครงการ คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 ”

ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสุกัญญา บัวผุด

ชื่อโครงการ โครงการ คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1

ที่อยู่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L7252-02-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะเดา อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L7252-02-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 56,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเดา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะรัฐมนตรีมีมติในการประชุมเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2565 ให้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จนถึงวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2565 โดยนายกรัฐมนตรีได้ออกข้อกำหนดออกตามความ        ในมาตรา 9 แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 40) ลงวันที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2564 กำหนดประเภทของผู้เดินทางเข้ามาในราชอาณาจักรให้สอดคล้องกับสถานการณ์      การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 และสอดรับกับนโยบายการเปิดประเทศเพื่อฟื้นฟูเศรษฐกิจของรัฐบาล      และออกคำสั่งเพื่อกำหนดแนวปฏิบัติให้หัวหน้าผู้รับผิดชอบ ในการแก้ไขสถานการณ์ฉุกเฉินและพนักงานเจ้าหน้าที่นำไปดำเนินการให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันโรคโดยเคร่งครัดและตามหนังสือจังหวัดสงขลา        ด่วนที่สุด ที่ สข 0023.3/ ว7130ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2564 ได้แจ้งแนวทางการเปิดสถานศึกษา (โรงเรียน/วิทยาลัย) ของสถานศึกษาสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค  ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพิ่มเติม และเพื่อให้เป็นไปตามแนวทางของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นและสำนักงานส่งเสริมการปกครองจังหวัดสงขลา และตามประกาศเทศบาลเมืองสะเดา ลงวันที่ 31 มกราคม 2565 เรื่อง การเปิดเรียนภาคเรียนที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2564 ของสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองสะเดา รูปแบบ On-site ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 6 – มัธยมศึกษาตอนปลาย เปิดการเรียนรูปแบบ On-site ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 6 – ระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 ตั้งแต่วันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 เป็นต้นไป โดยสถานศึกษาได้ดำเนินการตรวจ ATK นักเรียนทุกคน และจะตรวจ ATK ทุก 2 สัปดาห์ เนื่องจากจังหวัดสงขลาเป็นพื้นที่ควบคุมสีส้ม นั้น จากสถานการณ์ในพื้นที่เทศบาลเมืองสะเดา ข้อมูล ณ วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2565 ผู้ป่วยสะสม      328 คน ดังนั้น เพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุก และการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตน ไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูง เช่น 7 กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันดลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และและมาตรการเพื่อเฝ้าระวัง การแพร่ระบาดในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) หากมีการตรวจคัดกรองขั้นต้นด้วยชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) จะเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการค้นหาได้อย่าง      คลอบคลุมมากยิ่งขึ้น เพื่อให้นักเรียนได้ตรวจคัดกรองตนเองและเป็นการตรวจเชิงรุกเพิ่มมากยิ่งขึ้น ให้ทัน      ต่อสถานการณ์ปัจจุบันในพื้นที่ ดังนั้น เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนเทศบาล ๑ บ้านสะเดา จึงได้จัดทำโครงการคัดกรอง ผู้มีความเสี่ยง      ในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อใช้ตรวจนักเรียน  ที่ประสงค์มาเรียนในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 142 ราย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย Antigen Test Kit (ATK) 2) เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในท้องถิ่น พื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3) สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 142
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1) นักเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย Antigen Test Kit (ATK) เพื่อไม่ให้เป็นพาหะ      นำโรคระบาดในชุมชน
    2) เกิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลและในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ในพื้นที่


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย Antigen Test Kit (ATK) 2) เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในท้องถิ่น พื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 3) สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 142
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 142
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1) เพื่อให้นักเรียนได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย Antigen Test Kit (ATK) 2) เพื่อสร้างความตระหนักให้นักเรียนในท้องถิ่น พื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  3)  สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ คัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยใช้ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ในสถานศึกษา โรงเรียนเทศบาล 1 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 65-L7252-02-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสุกัญญา บัวผุด )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด