กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นายมูหะหมัด วันสุไลมาน

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3063 - 01 - 06 เลขที่ข้อตกลง 05/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 24 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนรัก อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3063 - 01 - 06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 24 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนรัก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของประเทศ ในอดีตจะพบอัตราการเกิดโรค ในช่วงปลายปี แต่ปัจจุบันสามารถพบผู้ป่วยได้ตลอดทั้งปี และพบผู้ป่วยมีจำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งมีแนวโน้มการเกิดโรคสูงขึ้น ปัจจุบันโรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล โดยเฉพาะหากมีแหล่งหรือสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเพาะพันธ์ยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรค ดังนั้น การควบคุมป้องกันและการเฝ้าระวังไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออกจึงเป็นสิ่งสำคัญในการลดอัตราการป่วย โดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากหลายฝ่าย ทั้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุข อาสาสมัครสาธารณสุข ประจำหมู่บ้าน ผู้นำชุมชน และประชาชน ในการช่วยกันควบคุมป้องกันโรค อาทิ เช่น ด้วยการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย คว่ำภาชนะที่เป็นแหล่งน้ำขัง ปิดฝาภาชนะที่ใส่น้ำให้มิดชิด ใส่ทรายอะเบทกำจัดลูกน้ำยุงลาย รวมถึงการป้องกันไม่ให้โดนยุงกัด โดยการใช้สมุนไพรพื้นบ้าน เป็นต้น และควรเฝ้าระวัง โดยการสำรวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายเป็นประจำเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคไข้เลือดออก และการควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรค กรณีพบผู้ป่วยในพื้นที่ ทั้งนี้โรคไข้เลือดออกส่งผลกระทบทั้งในระยะสั้นและระยะยาว คือผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำเป็นต้องได้รับการ ดูแลรักษาอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันอันตรายและลดอัตราการเสียชีวิต รวมไปถึงการดูแลป้องกันบุคคลภายใน ครอบครัว หรือบุคคลใกล้ชิด เช่น ในสถานที่ทำงาน โรงเรียน จึงเป็นการสูญเสียทั้งสุขภาพ เงินค่ารักษาพยาบาลหรือ ค่าใช้จ่ายขณะป่วยและพักฟื้น ของผู้ป่วยเองรวมไปถึงครอบครัว หน้าที่การงาน สังคม หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  ต้องสูญเสียงบประมาณ และทรัพยากรในการควบคุมและป้องกันโรค ซึ่งอาจส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศได้   จากความสำคัญและความจำเป็นดังกล่าว กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลดอนรัก จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565  ขึ้น เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความตระหนักในการ ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ช่วยทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และเพื่อลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก ในพื้นที่ตำบลดอนรัก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
  2. เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหนะนำโรค อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายให้ทุกครัวเรือนในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 ตำบลดอนรัก (ได้แก่สถานที่ต่าง ๆ ดังนี้ ศาสนสถาน , โรงเรียน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , สถานที่ราชการทั้งหมดในตำบลดอนรัก)
  2. กิจกรรมพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายให้ทุกครัวเรือนในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 ตำบลดอนรัก (ได้แก่สถานที่ต่าง ๆ ดังนี้ ศาสนสถาน , โรงเรียน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , สถานที่ราชการทั้งหมดในตำบลดอนรัก)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 สามารถควบคุมโรคได้อย่างทันเวลา และสามารถหยุดการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลดอนรักได้ 2 ประชาชนให้ความร่วมมือในการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย 3 ประชาชนเกิดความตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมโครงการร่วมกันทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย
100.00

 

2 เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข่าร่วมโครงการตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
100.00

 

3 เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหนะนำโรค อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
ตัวชี้วัด : สามารถควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหนะนำโรค อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อรณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายในชุมชน (2) เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตระหนักในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อการควบคุมโรคให้ทันเวลาภายหลังการได้รับแจ้ง โดยการกำจัดยุงพาหนะนำโรค อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายให้ทุกครัวเรือนในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค        หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 ตำบลดอนรัก (ได้แก่สถานที่ต่าง ๆ ดังนี้  ศาสนสถาน , โรงเรียน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , สถานที่ราชการทั้งหมดในตำบลดอนรัก) (2) กิจกรรมพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายให้ทุกครัวเรือนในพื้นที่ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค        หมู่ที่ 1 - หมู่ที่ 7 ตำบลดอนรัก (ได้แก่สถานที่ต่าง ๆ ดังนี้  ศาสนสถาน , โรงเรียน , ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก , สถานที่ราชการทั้งหมดในตำบลดอนรัก)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประจำปีงบประมาณ 2565 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3063 - 01 - 06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมูหะหมัด วันสุไลมาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด