กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 ”

จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายอรรถพล โชโต ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ

ชื่อโครงการ โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-07 เลขที่ข้อตกลง 07/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด (2) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และมีทักษะการปฏิเสธอย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอกและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง เยาวชนยุค 4.0 ห่างไกลยาเสพติด (4) กิจกรรมเดินรณรงค์เรื่องยาเสพติด (5) กิจกรรมจัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ในโรงเรียนในพื้นที่ตำบลทำนบ (6) ประเมินผลโครงการ (7) สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม" ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย พบว่ามีเด็กและเยาวชน จำนวนไม่น้อยที่เข้าไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ทั้งเกิดจากความตั้งใจ และเกิดจากการหลงผิดโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ อีกทั้งยังมีปัจจัยเสี่ยงต่าง ๆ ที่จะทำให้เด็กและเยาวชน มีโอกาสเข้าไปติดยาเสพติดเพิ่มมากขึ้นอีก เช่น เด็กและเยาวชน เป็นวัยที่ต้องการเรียนรู้ อยากลอง ต้องการเรียกร้องความสนใจ การสร้างการยอมรับ กล้าทำในสิ่งที่ท้าทาย การชักจูง และการหลอกลวง เป็นต้น ดังนั้น เด็กและเยาวชนจำเป็นต้องได้รับการดูแลเอาใจใส่อย่างเพียงพอ ต้องได้รับการถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและการรู้โทษที่ร้ายแรงของสิ่งเสพติดอย่างเหมาะสม การรู้จักการหลีกเลี่ยงสิ่งเสพติด และสิ่งสำคัญคือการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเด็กและเยาวชน โดยผนึกกำลังทุกภาคส่วน ให้ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ และร่วมแรงร่วมใจเป็นพลังของแผ่นดิน ที่จะต่อสู้เพื่อเอาชนะปัญหายาเสพติด นอกจากเป็นสถานที่ในการปฏิบัติศาสนกิจและปลูกฝังคุณธรรมให้แก่เด็ก เยาวชนและประชาชนในพื้นที่แล้ว ยังมีบทบาทหน้าที่และภารกิจอีกหลายด้าน รวมทั้งการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ซึ่งเป็นภารกิจที่ทุกภาคส่วนต้องดำเนินการร่วมกัน และในสภาพปัจจุบันสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติด มาในรูปแบบและวิธีต่าง ๆ มากมาย เข้าไปสู่เด็กและเยาวชนในสถานศึกษาต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ จึงมีความจำเป็นที่จะหาแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดไม่ให้เกิดขึ้นในหมู่บ้าน เพื่อเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับเยาวชนไทย ส่งเสริมกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดให้เกิดขึ้นอย่างเป็นรูปธรรม จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชนขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
  2. เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และมีทักษะการปฏิเสธอย่างเหมาะสม
  3. เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอกและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. กิจกรรมเดินรณรงค์เรื่องยาเสพติด
  4. กิจกรรมจัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ในโรงเรียนในพื้นที่ตำบลทำนบ
  5. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง เยาวชนยุค 4.0 ห่างไกลยาเสพติด
  6. ประเมินผลโครงการ
  7. สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 21
กลุ่มวัยทำงาน 4
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กและเยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดอย่างเหมาะสม
  2. ลดปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
  3. เด็กและเยาวชน ได้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับยาเสพติด สามารถใช้เป็นข้อมูลในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้อย่างเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

วันที่ 6 มกราคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน - ได้กำหนดกิจกรรม งบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นำโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนจากกองทุนฯ

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการเชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกลุ่มเป้าหมายมาสมัครเข้าร่วมโครงการตามเป้าหมายที่กำหนดไว้

 

0 0

3. กิจกรรมจัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ในโรงเรียนในพื้นที่ตำบลทำนบ

วันที่ 1 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดบอร์ดนิทรรศการ เรื่อง ยาเสพติด ให้กับโรงเรียนในพื้นที่ ทั้งหมด 3 โรงเรียน งบประมาณ 1. ค่าวัสดุอุปกรณ์จัดบอร์ด เป็นเงิน 9000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนในโรงเรียน ได้ความรู้และทราบถึงโทษของยาเสพติด

 

0 0

4. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง เยาวชนยุค 4.0 ห่างไกลยาเสพติด

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมบรรยายให้ความรู้ เรื่อง เยาวชนยุค 4.0 ห่างไกลยาเสพติด โดยวิทยากรจาก กกก.ตชด.43 สงขลา งบประมาณ
1. ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 35 คน ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1750 บาท 2. ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 1750 บาท 3.ค่าวัสดุอุปกรณ์เครื่องเขียน จำนวน 21 ชุด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 1050 บาท 4. ค่าวิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3000 บาท 5. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 * 2.5 เมตร ๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 450 บาท 6. ค่าประกาศนียบัตร เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็ฏและเยาวชนรู้จักและมีความเข้าใจเรื่องยาเสพติด

 

35 0

5. กิจกรรมเดินรณรงค์เรื่องยาเสพติด

วันที่ 30 กรกฎาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

เดินรณรงค์แจกแผ่นพับ เรื่องยาเสพติดในชุมชน งบประมาณ
1. ค่าแผ่นพับ เรื่องยาเสพติด จำนวน 500 แผ่น ๆ ละ 2 บาท เป็นเงิน 1000 บาท หมายเหตุ ทางสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การบริหารส่วนตำบลทำนบ จึงนำงบประมาณในส่วนนี้ ไปใช้ในส่วนการอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ประชาชนในประชาชนในชุมชน ได้ทราบถึงโทษของยาเสพติด
  2. รู้จักการปฏิเสธ

 

0 0

6. ประเมินผลโครงการ

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลโครงการ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เด็กและเยาวชนที่เข้าร่วมโครงการ จำนวน 18 คน และถามคำถามผู้เข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจยาเสพติด

 

0 0

7. สรุปผลโครงการ

วันที่ 15 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลโครงการ นำเอกสารโครงการมาจัดทำรูปเล่มนำเสนอผู้สนับสนุนงบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

สรุปผลโครงการสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด
40.00 80.00 80.00

 

2 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และมีทักษะการปฏิเสธอย่างเหมาะสม
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนมีทักษะการปฏิเสธอย่างเหมาะสม
45.00 85.00 85.00

 

3 เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอกและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้
ตัวชี้วัด : เด็กและเยาวชนรับรู้ถึงสถานการณ์ยาเสพติดในชุมชน
55.00 95.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 25 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 21 21
กลุ่มวัยทำงาน 4 14
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กและเยาวชนมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติด (2) เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และมีทักษะการปฏิเสธอย่างเหมาะสม (3) เพื่อให้เด็กและเยาวชนได้รับรู้สถานการณ์ยาเสพติดภายในชุมชนของตนเองและสังคมภายนอกและสามารถปฏิบัติตนให้ห่างไกลยาเสพติดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง เยาวชนยุค 4.0 ห่างไกลยาเสพติด (4) กิจกรรมเดินรณรงค์เรื่องยาเสพติด (5) กิจกรรมจัดบอร์ดนิทรรศการให้ความรู้ในโรงเรียนในพื้นที่ตำบลทำนบ (6) ประเมินผลโครงการ (7) สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเยาวชนรุ่นใหม่ห่างไกลยาเสพติด สภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอรรถพล โชโต ประธานสภาเด็กและเยาวชนตำบลทำนบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด