กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง


“ โครงการกิจกรรมทางกายพิชิตใจพิชิตพุง ”

ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

หัวหน้าโครงการ
นายธีรศักดิ์ จันทร์แดงตระกูล

ชื่อโครงการ โครงการกิจกรรมทางกายพิชิตใจพิชิตพุง

ที่อยู่ ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา จังหวัด พะเยา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 กุมภาพันธ์ 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกิจกรรมทางกายพิชิตใจพิชิตพุง จังหวัดพะเยา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกิจกรรมทางกายพิชิตใจพิชิตพุง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกิจกรรมทางกายพิชิตใจพิชิตพุง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสันป่าม่วง อำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 กุมภาพันธ์ 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 0.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสันป่าม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

"กิจกรรมทางกาย (Physical Activity)" คือ การเคลื่อนไหว หรือขยับร่างกายในชีวิตประจำวัน ทั้งในการทำงาน การเดินทางและนันทนาการ ในขณะที่ "พฤติกรรมเนือยนิ่ง (Sedentary Behavior)" หมายถึง กิจกรรมที่ใช้พลังงานต่ำ เช่น การนั่งเล่นโทรศัพท์มือถือ การใช้คอมพิวเตอร์ ดูโทรทัศน์ เป็นต้น การส่งเสริมกิจกรรมทางกายและการลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง ให้ประโยชน์ต่อสุขภาพ เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อมและสังคม โดยต้องมีการประสานการทำงานจากหลากหลายภาคส่วน อาทิ การศึกษา การทำงาน การคมนาคม การบริหารจัดการเมือง การกีฬาและนันทนาการ การท่องเที่ยว และชุมชน ทั้งนี้ คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบแผนการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย (พ.ศ. 2561 - 2573) วันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2563 เพื่อให้หน่วยงานต่าง ๆ ใช้เป็นกรอบแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี เพื่อผลักดันและขับเคลื่อนให้ประชาชนมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน อันจะนำไปสู่การลดความเหลื่อมล้ำของสังคมและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในประเทศ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) ประมาณการว่าในแต่ละปีการเสียชีวิตของประชากรโลกเกือบ 1.9 ล้านคน มาจากการมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ซึ่งการมีกิจกรรมทางกายที่ไม่เพียงพอสัมพันธ์กับภาวะอ้วนลงพุงและการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ โดยมีโอกาสเกิดโรคที่เกี่ยวข้องกับหัวใจร้อยละ 30 โรคเบาหวานร้อยละ 27 โรคมะเร็งลำไส้ร้อยละ 25 โรคมะเร็งเต้านมร้อยละ 21 โรคหลอดเลือดหัวใจร้อยละ 6 และมีโอกาสเสี่ยงต่อการตายสูงถึงร้อยละ 20-30 ส่วนพฤติกรรมเนือยนิ่งก็มีความสัมพันธ์กับอัตราการตายจากโรคหัวใจและหลอดเลือดและโรคเบาหวาน
จากสถานการณ์การทำกิจกรรมทางกายภาพรวมของประเทศที่ผ่านมา พบว่ามีทิศทางการทำกิจกรรมทางกายของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น คือจากร้อยละ 66.30 ในปี 2555 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 74.60 ในปี พ.ศ.2562 เมื่อพิจารณาตามกลุ่มช่วงวัย พบว่า ในภาพรวมการเปลี่ยนแปลงเชิงบวกทุกกลุ่มอายุ ยกเว้นกลุ่มวัยทำงานหรือวัยผู้ใหญ่(อายุระหว่า 18 – 65 ปี) ที่มีการลดลงของระดับการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่าการมีพฤติกรรมเนือยนิ่งหรือมีกิจกรรมทางกายไม่เพียงพอ ส่งผลต่อการสูญเสียทางเศรษฐกิจอันเนื่องมาจากการเจ็บป่วยโดยเกิดจากโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง หากมีการส่งเสริมให้ประชาชนมีการออกกำลังกายที่จะเป็นสื่อกลางในการเชิญชวนประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนมาทำกิจกรรมทางกายอย่างเพียงพอในระดับปานกลางถึงหนักเพิ่มขึ้น ก็จะสามารถลดอัตราการเจ็บป่วยและลดการสูญเสียทางเศรษฐกิจลงได้ ประกอบกับเทศบาลตำบลมีบทบาทหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2552 หมวด 2 การกำหนดอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะ มาตรา 16 ให้เทศบาลมีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง (19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัวและการรักษาพยาบาล งานสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สำนักปลัด เทศบาลตำบลสันป่าม่วง ได้ตระหนักถึงความสำคัญของการมี กิจกรรมทางกายดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการกิจกรรมทางกาย พิชิตใจพิชิตพุง มุ่งสู่สุขภาพดี ขึ้นเพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกาย จิตและสังคมที่ดีขึ้นต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้มีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
  2. เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสังคมที่ดีขึ้นตามเป้าหมายของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมเตรียมการ
  2. เขียนโครงการเพื่อเสนอผู้บริหารเห็นชอบ
  3. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดกลุ่มเป้าหมาย
  4. การประเมินสุขภาพ
  5. รวมกลุ่มออกกำลังกาย
  6. สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

8.1 ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้มีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม 8.2 ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสังคมที่ดีขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมเตรียมการ

วันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2565

กิจกรรมที่ทำ

 

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

 

 

5 0

2. เขียนโครงการเพื่อเสนอผู้บริหารเห็นชอบ

วันที่ 2 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

เขียนโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ งบประมาณ และผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เขียนโครงการ ขั้นตอนการดำเนินโครงการ งบประมาณ และผลที่คาดว่าจะได้รับ

 

0 0

3. ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดกลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 7 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กลุ่มเป้าหมายมาสมัครเข้าร่วมโครงการ

 

0 0

4. การประเมินสุขภาพ

วันที่ 16 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง รอบเอว  ความดันโลหิตและให้ผู้เข้าร่วมโครงการกำหนดเป้าหมายของตนเองว่าจะลดน้ำหนัก รอบเอว ความดันโลหิต

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้เข้าร่วมโครงการทราบเป้าหมายของตนเอง

 

0 0

5. รวมกลุ่มออกกำลังกาย

วันที่ 30 มีนาคม 2565

กิจกรรมที่ทำ

รวมกลุ่มออกกำลังกายทุกวันพุธ และมีกิจกรรมทางกายของตัวเอง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รวมกลุ่มออกกำลังกายทุกวันพุธ

 

0 0

6. สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

วันที่ 29 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลการดำเนินโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้มีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้มีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกาย อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์หรือไม่น้อยกว่า 150 นาที/สัปดาห์ (โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมปฏิบัติเองหรือเข้าร่วมกับกิจกรรมหลักที่จัดขึ้นทุกวันพุธ)
40.98 2.00

 

2 เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสังคมที่ดีขึ้นตามเป้าหมายของตนเอง
ตัวชี้วัด : มีการประเมินสภาพร่างกายก่อนและหลังการจัดกิจกรรม โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีสุขภาพกายดีขึ้นโดยรวมอย่างน้อยร้อยละ 50
40.98 2.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการได้มีกิจกรรมทางกาย/ออกกำลังกายอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม (2) เพื่อให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพกาย สุขภาพจิตและสังคมที่ดีขึ้นตามเป้าหมายของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเตรียมการ (2) เขียนโครงการเพื่อเสนอผู้บริหารเห็นชอบ (3) ประชาสัมพันธ์และรับสมัครผู้เข้าร่วมกิจกรรมโดยกำหนดกลุ่มเป้าหมาย (4) การประเมินสุขภาพ (5) รวมกลุ่มออกกำลังกาย (6) สรุปผลโครงการและรายงานผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกิจกรรมทางกายพิชิตใจพิชิตพุง จังหวัด พะเยา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายธีรศักดิ์ จันทร์แดงตระกูล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด