กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดบ้านพร้าว ปีงบประมาณ 2565 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวโศภิษฐ์ โรจนรักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบ้านพร้าว

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดบ้านพร้าว ปีงบประมาณ 2565

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-03 เลขที่ข้อตกลง 03/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดบ้านพร้าว ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดบ้านพร้าว ปีงบประมาณ 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดบ้านพร้าว ปีงบประมาณ 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,396.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓ และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยายประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ และในปี ๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๔ เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดต่อเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (โควิด-๑๙) ที่ ๑๑/๒๕๖๔ เรื่องพื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่งพระราชกำหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ ประกาศระบุว่าตามที่มีประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓ และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ ๑๓ จนถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อโควิด-๑๙ ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศโดยเฉพาะในกรุงเทพฯและปริมณฑล รวมถึง ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่จังหวัดที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง ๒๙ จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ๆในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลให้ระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็น บุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากขึ้น มีผลกระทบขยายวงกว้างไปยังทุกจังหวัดประเทศ ซึ่งจังหวัดสงขลา อยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกและการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน ๗ กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูงหรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูงของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข จึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกัน ตามหลัก New Nomal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ในการนี้ทางสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสงขลา เขต 1 มีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ on site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิดหรือ covid free setting มีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-๑๙ ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน on site เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid-๑๙)ให้ทันต่อสถานการณ์ โรงเรียนวัดทำนบตางหน จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (covid-๑๙) ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ
  3. กิจกรรมคัดกรองให้กับนักเรียนและคุณครูในโรงเรียน
  4. กิจกรรม Big Cleaning Day
  5. ประเมินผลโครงการ
  6. สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 67
กลุ่มวัยทำงาน 9
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

นักเรียนและครูได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้น ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด และได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (covid—๑๙) เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนำโรคระบาดในชุมชน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะกรรมการเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน

วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการ เสนองบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นำโครงการและงบประมาณเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุน

 

0 0

2. ประชาสัมพันธ์โครงการ

วันที่ 1 มีนาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์เชิญชวนกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีกลุ่มเป้าหมายมาสมัครเข้าร่วมโครงการตามที่กำหนดไว้

 

0 0

3. กิจกรรมคัดกรองให้กับนักเรียนและคุณครูในโรงเรียน

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดกรองให้กับนั่งเรียนและคุณครูในโรงเรียน งบประมาณ 1. ค่าเจลล้างมือ ขนาด 5 ลิตร 4 แกลลอน เป็นเงิน 2,200 บาท 3.ค่าหน้ากากอนามัย 20 กล่อง เป็นเงิน 2,000 บาท 3. ค่าสบู่ก้อน 5 โหล เป็นเงิน 1,140  บาท 4.ค่าผงซักฟอก จำนวน 5 ถุง เป็นเงิน  450 บาท 5. ค่าน้ำยาค่าเชื้อเดทตอล ขนาด 5 ลิตร 5แกลลอน เป็นเงิน 11,880  บาท 6. ถุงมือยาง 5 กล่อง เป็นเงิน 1,100  บาท 7.เครื่องวัดอุณหภูมิแบบอินฟราเรด จำนวน 2 เครื่อง เป็นเงิน 3,780  บาท 8. ค่าถังขยะติดเชื้อ จำนวน 4 ชุด เป็นเงิน 496  บาท 9. ค่าถุงดำใส่ขยะจำนวน 10ชุด เป็นเงิน 550 บาท 10. ค่าป้ายไวนิลโครงการจำนวน 2 ป้าย ขนาด 2.5x 1.5 เมตร เป็นเงิน 800 บาท 11.ค่าถ่ายเอกสารและค่าวัสดุในโครงการ เป็นเงิน 1,000 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ช่วยลดการกระจายภาวะการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า (Covid-19) ได้เป็นอย่างดี

 

0 0

4. กิจกรรม Big Cleaning Day

วันที่ 1 เมษายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ทำความสะอาดโรงเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

นักเรียนและคุณครูไม่ติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)

 

0 0

5. ประเมินผลโครงการ

วันที่ 1 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการ - รายงานผลประเมินโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลการประเมินโครงการ

 

0 0

6. สรุปผลโครงการ

วันที่ 15 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปผลการดำเนินโครงการ - จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการรายงานผลต่อประธานกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานผลต่อประธานกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ลดการเกิดกลุ่มเสี่ยงภายในโรงเรียน
76.00 0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 67 67
กลุ่มวัยทำงาน 9 9
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมในการคัดกรองกลุ่มเสี่ยงในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะกรรมการเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ (3) กิจกรรมคัดกรองให้กับนักเรียนและคุณครูในโรงเรียน (4) กิจกรรม Big Cleaning Day (5) ประเมินผลโครงการ (6) สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) โรงเรียนวัดบ้านพร้าว ปีงบประมาณ 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวโศภิษฐ์ โรจนรักษ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนวัดบ้านพร้าว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด