กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา


“ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา ”

ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวฮามีดะ หะยีสาและ

ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา

ที่อยู่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3068-10(2)-05 เลขที่ข้อตกลง 65-L3068-10(2)-05

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางตาวา อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 65-L3068-10(2)-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 26,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางตาวา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่รัฐบาลได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักร ในปีที่ผ่านมา ตั้งแต่ ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓ และตามมติคณะรัฐมนตรีได้ขยายประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรออกไปถึง ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ และในปี ๒๕๖๔ เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒๕๖๔ เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่คำสั่งศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)ที่ ๑๑/๒๕๖๔ เรื่อง พื้นที่สถานการณ์ที่กำหนดเป็นพื้นที่กำหนดเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด พื้นที่ควบคุมสูงสุด และพื้นที่ควบคุม ตามข้อกำหนดออกตามความในมาตรา ๙ แห่ง พระราชกำหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ประกาศระบุว่า ตามที่ได้มีการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในทุกเขตท้องที่ทั่วราชอาณาจักรตั้งแต่วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๖๓ และต่อมาได้ขยายระยะเวลาการบังคับใช้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินดังกล่าวออกไปเป็นคราวที่ ๑๓ จนถึงวันที่ ๓๐ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๔ นั้น สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-๑๙ ทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้นในหลายพื้นที่ของประเทศไทยโดยเฉพาะในกรุงเทพฯ
และปริมณฑล รวมถึง ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้ถูกกำหนดให้เป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด ซึ่งขณะนี้มีพื้นที่จังหวัดที่ประกาศเป็นพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดถึง ๒๙ จังหวัด เนื่องจากมีการติดเชื้อแบบกลุ่มใหม่ ๆ ในการระบาดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องส่งผลในระบบสาธารณสุขที่ให้บริการรักษาเข้าสู่ภาวะวิกฤตในการให้การดูแลผู้ป่วย ทั้งขาดแคลนอุปกรณ์ที่จำเป็นบุคลากรและสถานที่ที่ให้การรักษามีอัตราครองเตียงสูงมากยิ่งขึ้นมีผลกระทบขยายวงกว้างไปทุกจังหวัดในประเทศ ซึ่งจังหวัดปัตตานีอยู่ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดด้วย อีกทั้งยังมีรายงานจำนวนผู้ติดเชื้อรายวันอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้นเพื่อเป็นการร่วมมือหยุดการแพร่ระบาด เพิ่มประสิทธิภาพการดูแลรักษาเชิงรุกปละการป้องกันไม่ให้เกิดผู้ติดเชื้อรายใหม่ ซึ่งมาจากการปฏิบัติตนไม่ถูกต้องของบุคคลทั่วไปและผู้ที่มีสุขภาพอ่อนแอ โดยมีภาวะโรคประจำตัวที่มีความเสี่ยงสูงใน ๗ กลุ่มโรค เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดหัวใจ และสมอง และโรคทางเดินหายใจ กลุ่มผู้สูงอายุ เด็ก หญิงตั้งครรภ์และผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่แพร่ระบาดเสี่ยงสูงหรือผู้สัมผัสโดยตรงกับผู้ป่วย ตามนิยามผู้สัมผัสใกล้ชิดที่มีความเสี่ยงต่อการรับเชื้อสูง ของกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารสุขจึงต้องกำหนดมาตรการควบคุมป้องกัน ตามหลัก New Normal และ DMHTT อย่างเข้มงวดเพียงพอต่อการควบคุมโรคอย่างมีประสิทธิภาพ ในการนี้ มีนโยบายให้โรงเรียนเปิดเรียนแบบ on-site โดยต้องทำเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting
มีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน มีการสุ่มตรวจนักเรียนที่มาเรียน onsite ด้วยชุดตรวจโควิด-19 ด้วยตนเอง หรือ ATK เพื่อเป็นการดำเนินการเชิงรุกในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ให้ทันต่อสถานการณ์ และเนื่องจากโรงเรียนบ้านปากบางตาวาตั้งอยู่ในตำบลตุยง ซึ่งเป็นพื้นที่ติดต่อกับตำบลบางตาวา ส่งผลทำให้มีนักเรียนจำนวนไม่น้อยเข้ามาศึกษาในโรงเรียน จากการสำรวจพบว่ามีนักเรียนจำนวนร้อยละ ๙๓ เป็นนักเรียนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลบางตาวา ทำให้โรงเรียนบ้านปากบางตาวาจึงได้จัดทำโครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้บุคคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด
  2. เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนในโรงเรียน ไ้ด้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19
  3. เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ และการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน
  2. กิจกรรมเตรียมความพร้อมสถานที่ ต่าง ๆ ในสถานศึกษา
  3. กิจกรรมตรวจ ATK
  4. กิจกรรม ๖-๖-๗ ลดความเสี่ยงโควิดในสถานศึกษา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 223
กลุ่มวัยทำงาน 16
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.บุคลากร ครูนักเรียนในโรงเรียนได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และติตามดูแลอย่างใกล้ชิด 100% 2.บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากาารระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เพื่มมากขค้น 3. บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน รู้จัดดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวารัสโคโรนา 2019 เพื่มมากขึ้น 4.โรงเรียนเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ covidfreesettingมีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมที่ ๑ อบรมให้ความรู้เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเสริมสุขภาพเพื่อการตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียน และบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา
- ผู้บริหาร - ครูประจำชั้น
- บุคลากรในโรงเรียน
- คณะกรรมการสถานศึกษา - ผู้ปกครองนักเรียน - เจ้าหน้าที่ รพ.สต.

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพิ่มมากขึ้น

 

0 0

2. กิจกรรมตรวจ ATK

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

๑ แผนการตรวจ ATK โดยกำหนดช่วงระยะเวลาในการตรวจ ได้แก่
    - ก่อนเปิดภาคเรียน     - วันเปิดภาคเรียน
    - ระหว่างการเปิดภาคเรียน ๒ การตรวจคัดกรองหาเชื้อ โดยให้มีการสุ่มตรวจ ATK นักเรียน  ครู และบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาเป็นระยะๆ (ร้อยละ 10-15) เพื่อเฝ้าระวัง ตามเกณฑ์จำแนกตามเขตพื้นที่การแพร่ระบาด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ๑๐๐ %

 

0 0

3. กิจกรรมเตรียมความพร้อมสถานที่ ต่าง ๆ ในสถานศึกษา

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดพื้นที่/อาคารสนับสนุนการบริการ ให้เป็นไปตามมาตรการของกระทรวงสาธารณสุข และมีพื้นที่ COVID free zone     - จุดล้างมือภายในห้โรงเรียน
    - ห้องเรียนทุกชั้นเรียน     - ห้องปฏิบัติการต่างๆ     - ห้องพยาบาล     - โรงอาหาร     - โรงครัว     - สถานที่กักตัว (กลุ่มเสี่ยงที่ต้องเฝ้าระวัง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1โรงเรียนเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting มีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน 2.บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนรู้จักดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา2019 (Covid-19) เพิ่มมากขึ้น

 

0 0

4. กิจกรรม ๖-๖-๗ ลดความเสี่ยงโควิดในสถานศึกษา

วันที่ 1 พฤษภาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. กิจกรรม ๖-๖-๗ ลดความเสี่ยงโควิดในสถานศึกษา
  2. ปฏิบัติตาม 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) ดังนี้
      ข้อ ๑. เว้นระยะห่าง   ข้อ ๒. สวมหน้ากาก   ข้อ ๓. ล้างมือ   ข้อ ๔. คัดกรองวัดไข้   ข้อ ๕. ลดการแออัด
      ข้อ ๖. ทำความสะอาด ๕.๒ ปฏิบัติตาม 6 มาตรการเสริม ดังนี้   ข้อ ๑. ดูแลตนเอง
      ข้อ ๒. ใช้ช้อนกลางส่วนตัว   ข้อ ๓. กินอาหารปรุงสุกใหม่   ข้อ ๔. ลงทะเบียนเข้าออกโรงเรียน   ข้อ ๕. สำรวจตรวจสอบ   ข้อ ๖. กักกันตัวเอง ๓ ปฏิบัติตามแนวทาง 7 มาตรการเข้มสำหรับสถานศึกษา ดังนี้   ข้อ 1. ประเมิน TSC+ และรายงานผลผ่าน MOE COVID อย่างต่อเนื่อง   ข้อ 2. Small Bubble ทำกิจกรรมแบบกลุ่มย่อย
      ข้อ 3. อาหารตามหลักสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ
      ข้อ 4. อนามัยสิ่งแวดล้อม ทั้งอากาศ ความสะอาด น้ำ ขยะ
      ข้อ 5. School Isolation มีแผนเผชิญเหตุและซักซ้อม
      ข้อ 6. Seal Route  ดูแลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน
      ข้อ 7. School Pass สำหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาได้รับวัคซีนจำนวนมากที่สุดอย่างน้อย 85%

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ๑๐๐ %
  2. บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) เพิ่มมากขึ้น ๓. บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนรู้จักดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา2019 (Covid-19) เพิ่มมากขึ้น ๔. โรงเรียนเป็นพื้นที่ปลอดโควิด หรือ Covid free setting มีกิจกรรมให้ครูและนักเรียนฉีคซีนป้องกันโควิด-19 ครบถ้วน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้บุคคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด
ตัวชี้วัด : บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนร้อยละ 100 ได้รับการเฝ้าระวังคัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด
0.00

 

2 เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนในโรงเรียน ไ้ด้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19
ตัวชี้วัด : บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนในโรงเรียนร้อยละ 85 ไ้ด้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19
0.00

 

3 เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ และการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19
ตัวชี้วัด : บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ร้อยละ 85 รู้จักดูแลสุขภาพ และการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 239
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 223
กลุ่มวัยทำงาน 16
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้บุคคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียน ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK และติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด (2) เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนในโรงเรียน ไ้ด้รับความรู้ด้านการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติดต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19 (3) เพื่อให้บุคลากร ครู นักเรียนในโรงเรียนรู้จักดูแลสุขภาพ และการป้องกันตนเองจากการระบาดของโรคติต่อ เชื้อไวรัสโคโรนา COVID-19

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน (2) กิจกรรมเตรียมความพร้อมสถานที่ ต่าง ๆ ในสถานศึกษา (3) กิจกรรมตรวจ ATK (4) กิจกรรม ๖-๖-๗ ลดความเสี่ยงโควิดในสถานศึกษา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสร้างเสริมสุขภาพ ตรวจ คัดกรอง เฝ้าระวัง และติดตามผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ของนักเรียนและบุคลากรครูโรงเรียนบ้านปากบางตาวา จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 65-L3068-10(2)-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวฮามีดะ หะยีสาและ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด