กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา


“ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2565 ”

ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลมาน๊ะ อูเซ็ง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2502-65-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2565 ถึง 31 มีนาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2565 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกาลิซา อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2502-65-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2565 - 31 มีนาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 93,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาลิซา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยจัดเป็นประเทศที่มีปัญหาเด็กติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ เป็นอันดับต้นๆ ของโลก เพราะพ่อ แม่ขาดความเข้าใจ เลี้ยงลูกด้วยโทรศัพท์มือถือ ให้เล่นเกมเพื่อจะได้อยู่นิ่งๆ และอยู่ในสายตาการปล่อยให้ลูกเล่นมือถือและทิ้งลูกอยู่กับหน้าจอเพียงลำพังนานเกินวันละหลายชั่วโมง อาจส่งผลให้เด็กจดจ่อกับเรื่องราวที่ผ่านตาเร็วเกินไป และไม่ยอมละสายตาเพื่อสนใจกับสิ่งรอบตัวอื่นรอบข้าง ด้วยการเคลื่อนไหวในสื่อต่าง ๆ บนหน้าจอมือถือหรือแท็ปเล็ตที่เปลี่ยนแปลงและมีความรวดเร็ว จะทำให้เกิดปัญหาการใช้สมองในส่วนความทรงจำลดลง และหากปล่อยให้ลูกเล่นเช่นนี้เป็นประจำทุกวันจะสะสมให้เด็กเกิดอาการ “สมาธิสั้น” ได้ จากสถิติเด็กอายุ 6-12 ปี ที่ป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นในประเทศไทยซึ่งจัดเก็บตั้งแต่ปี 2555 พบว่า มีเด็กป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นมากถึง 1 ล้านคน พบในเด็กผู้ชายมากถึงร้อยละ 12 มากกว่าค่าเฉลี่ยทั่วโลกที่พบร้อยละ 10    โดยอาการสมาธิสั้นส่วนใหญ่พบในเด็กอายุก่อน 7 ปี และจะมีอาการต่อเนื่องนานกว่า 6 เดือน
ซึ่งในประเทศไทยพบความชุกของโรคในเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ถึงร้อยละ 8.1 ประมาณการได้ว่ามีเด็กนักเรียนชั้น ป.1-5 ทั่วประเทศป่วยเป็นโรคสมาธิสั้นถึง 1 ล้านคน และมักพบในเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง ในอัตราส่วน 3:1 และหากไม่ได้รับการวินิจฉัย รักษา และปรับพฤติกรรมอย่างถูกต้อง เด็กจะมีโอกาส    ไม่ประสบความสำเร็จในการเรียน เกิดการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุมากกว่าเด็กปกติ มีปัญหาการปรับตัวเข้า  กับผู้อื่น ฯลฯ และส่งผลเป็นปัญหาระยะยาว เช่น กลายเป็นคนต่อต้านสังคม มีความเสี่ยงติดยาเสพติด    เกิดภาวะซึมเศร้าและหากไม่ได้รับการรักษาตั้งแต่ต้นจะส่งผลต่อพัฒนาการด้านลบ และติดตัวไปจนถึงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ ถึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น    ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ เพื่อให้ความรู้ส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น และส่งเสริมกระตุ้นให้เด็กมีพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย เพื่อหลีกเลี่ยงโทษและปัญหาที่เกิดขึ้น  ในอนาคตกับเด็กที่มาจากการติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ จนกลายเป็นโรคสมาธิสั้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นจากการติดเกมของเด็กและเยาวชน
  2. เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน มีสุขภาพจิตเหมาะสมตามวัย
  3. เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น
  4. เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การอบรม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กวัยเรียนได้รับความรู้ในการป้องกันโรคที่เกิดจากการติดเกม
  2. เด็กวัยเรียนได้รับการส่งเสริมสุขภาพจิตให้เหมาะสมตามวัย ไม่เกิดโรคสมาธิสั้น
  3. เด็กวัยเรียนติดเกมติดจอลดลงและใช้สื่อออนไลน์ในทางที่สร้างสรรค์มากขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นจากการติดเกมของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีการป้องกันโรคจากการติดเกมของตนเองได้
0.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน มีสุขภาพจิตเหมาะสมตามวัย
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีสุขภาพจิตที่ดี
0.00

 

3 เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีการลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและไม่ทำให้ตนเองเกิดโรคสมาธิสั้น
0.00

 

4 เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมอบรมมีการลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและไม่ทำให้ตนเองเกิดโรคสมาธิสั้น
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นจากการติดเกมของเด็กและเยาวชน (2) เพื่อส่งเสริมให้เด็กวัยเรียน มีสุขภาพจิตเหมาะสมตามวัย (3) เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม        ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น (4) เพื่อลดภาวการณ์ติดเกมติดจอและส่งเสริมให้เด็กวัยเรียนใช้สื่อออนไลน์ในทางที่เหมาะสม        ไม่ทำให้เกิดโรคสมาธิสั้น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การอบรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กป้องกันโรคสมาธิสั้น ติดโทรศัพท์ ติดเกมส์ ประจำปี 2565 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2502-65-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลมาน๊ะ อูเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด