กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ


“ โครสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 ”

ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางเหมียน สุวรรณสุโข ประธาน กลุ่ม อสม. หมู่ที่ 3

ชื่อโครงการ โครสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565

ที่อยู่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-14 เลขที่ข้อตกลง 14/2565

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2565 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 65-L5264-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2565 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,900.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทำนบ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชผักเป็นพืชอาหารที่คนไทยนิยมนำมาใช้รับประทานกันมากเนื่องจากมีคุณค่าทางอาการทั้งวิตามินและแร่ธาตุต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายสูง แต่ค่านิยมในการบริโภคผักนั้น มักจะเลือกบริโภคผักที่สวยงามไม่มีร่องรอยการทำลายของหนอนและแมลงศัตรูพืช จึงทำให้เกษตรกรที่ปลูกผักจะต้องใช้สารเคมีป้องกันและกำจัดแมลงฉีดพ่นในปริมาณที่มาก เพื่อให้ได้ผักที่สวยงามตามความต้องการของตลาด เมื่อผู้ซื้อนำมาบริโภคแล้วอาจได้รับอันตรายจากสารพิษที่ตกค้างอยู่ในพืชผักนั้นได้
กลุ่ม อสม. หมู่ที่ 3 ตำบลทำนบ ตระหนักและให้ความสำคัญถึงสุขภาพ จึงได้จัดทำโครงการสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565เพื่อเป็นการแก้ปัญหาสุขภาพที่สาเหตุมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมีหรือผักผลไม้ที่มีสารเคมีตกค้างเพราะเกษตรกรผู้ผลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธี โดยเฉพาะผักปลอดสารพิษที่สามารถปลูกรับประทานเองได้ในครัวเรือน ถือเป็นแนวทางหนึ่งในการป้องกันปัญหาโรคไม่ติดต่อและเป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน โดยเน้นการให้สุขศึกษาแก่ประชาชนเกี่ยวกับการบริโภคผัก และการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษเพื่อบริโภคในครัวเรือน ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
  2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
  3. เพื่อให้ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหาร และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี
  4. เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการและวางแผนการดำเนินงาน
  2. จัดอบรมให้ความรู้
  3. คณะทำงานติดตามเยี่ยมบ้านและประเมินผลกิจกรรมเดือนละครั้ง
  4. ประเมินผล/สรุปผลโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ 2.ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหารและความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี 3 สามารถทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงโครงการและวางแผนการดำเนินงาน

วันที่ 15 ธันวาคม 2564 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงานเพื่อทำความเข้าใจโครงการและวางแผนการดำเนินงาน - เขียนโครงการ เสนองบประมาณ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้นำโครงการและงบประมาณเสนอเพื่อขอรับการสนับสนุน

 

0 0

2. จัดอบรมให้ความรู้

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการบริโภคผักปลอดสารพิษ งบประมาณ 1.ค่าวิทยากรบรรยายโครงการ จำนวน 4 ชม. x 600 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท 2. ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1x3 เมตร 1 ป้าย เป็นเงิน 450 บาท 3.ค่าอาหารกลางวัน 50 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 50 บาท เป็นเงิน  2,500 บาท 4.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 100 ชุด ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 5.ค่าเช่าเครื่องเสียง/อุปกรณ์เครื่องใช้ 1 ชุด เป็นเงิน 700 บาท 6.ค่าจัดทำเอกสารประกอบการอบรม 50 ชุด ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 1,250 บาท 7.ค่าเมล็ดพันธุ์ผัก 250 ถุง ๆละ 20 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท 8.ค่าถังดำขนาด 70 ลิตร จำนวน 10 ถัง ๆละ 199 บาท เป็นเงิน 1,990 บาท 9.ค่ากากน้ำตาล 1 ขวด เป็นเงิน 70 บาท 10.ค่าดินปลูก 100 ถุง ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท 11.ค่าผลไม้ (กล้วย สับปะรด มะละกอ ฟักทอง ) 1 ชุด เป็นเงิน 240 บาท 12.ค่าแฟ้มกระดุมสำหรับใส่เอกสาร 50 ชุด ๆละ 26 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนในพื้นที่ มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการผักที่ปลอดสารพิษ การเลือกซื้อ การล้าง การเก็บ การเลือกรับประทานและความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี และมีความรูเกี่ยวกับการทำปุ๋ยหมักจากเศษอาหารใรครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืชได้ดี

 

0 0

3. คณะทำงานติดตามเยี่ยมบ้านและประเมินผลกิจกรรมเดือนละครั้ง

วันที่ 1 สิงหาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงพื้นที่เยี่ยมบ้านเพื่อประเมินผลกิจกรรมในครั้งนี้

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ต้นกล้าเจริญเติบโตได้ดีตามระยะเวลา

 

0 0

4. ประเมินผล/สรุปผลโครงการ

วันที่ 30 กันยายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

-ประเมินผลความก้าวหน้าของโครงการ - รายงานผลประเมินโครงการ -สรุปผลการดำเนินโครงการ - จัดทำรูปเล่มสรุปโครงการรายงานผลต่อประธานกองทุนฯ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-รายงานผลการประเมินโครงการ -รายงานผลต่อประธานกองทุนฯ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
ตัวชี้วัด : ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค
10.00 50.00 50.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ
10.00 50.00 50.00

 

3 เพื่อให้ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหาร และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี
ตัวชี้วัด : มีความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหาร และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี
20.00 50.00 50.00

 

4 เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช
ตัวชี้วัด : มีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช
10.00 50.00 50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30 30
กลุ่มผู้สูงอายุ 20 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อทำให้ได้พืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีสุขภาพอนามัยดีขึ้นเนื่องจากการบริโภคพืชผักปลอดสารพิษ (3) เพื่อให้ความรู้เรื่องการจัดการผักปลอดสารพิษ การเลือกซื้อการปลูก การล้าง การเก็บ การรับประทานอาหาร และความเสี่ยงจากการบริโภคพืชผักปนเปื้อนสารเคมี (4) เพื่อให้มีความรู้ในเรื่องการทำปุ๋ยจากเศษอาหารในครัวเรือนและทำสารชีวพันธ์เพื่อกำจัดแมลงศัตรูพืช

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและวางแผนการดำเนินงาน (2) จัดอบรมให้ความรู้ (3) คณะทำงานติดตามเยี่ยมบ้านและประเมินผลกิจกรรมเดือนละครั้ง (4) ประเมินผล/สรุปผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครสุขภาพดีบริโภคพืชผักปลอดสารพิษหมู่ที่ 3 ต.ทำนบ อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ประจำปี 2565 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 65-L5264-2-14

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเหมียน สุวรรณสุโข ประธาน กลุ่ม อสม. หมู่ที่ 3 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด